Efficiency of wood dust filtration by wood dust media filter
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 47 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Industrial Hygiene and Safety))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Samroeng Saleewattanapongkun Efficiency of wood dust filtration by wood dust media filter. Thesis (M.Sc. (Industrial Hygiene and Safety))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93288
Title
Efficiency of wood dust filtration by wood dust media filter
Alternative Title(s)
ประสิทธิภาพการกรองฝุ่นไม้ด้วยชั้นกรองชนิดตัวกลางฝุ่นไม้
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study was an experimental study. Objectives of the study were to investigate the relationship between dust weight and collection efficiency, static pressure drop and collection efficiency of a wood dust filter. The wood dust in this study was from the wood processing industry. The wood dust panel filter was made by using coarse wood dust retained on a 1.50 mm sieve and filled into a 1.0x1.0x0.1 m. panel. The filtration efficiency was determined by the amount of small wood dust in the air sample before and after filtrating. The static pressure of the wood dust panel filter was measured during the experiment. The results of study were found that the collection efficiency was 99.5% and reduced to 77.9% with increasing amounts of small wood dust. The relation between the small wood dust load and collection efficiency showed a high negative relationship (r<-0.913 to -0.953) and was significant at 0.01. The static pressure of the panel filter increased due to the increasing amounts of small wood dust. The wood dust load had a high positive relationship (r<0.962) with a static pressure panel filter and was significant at 0.01. Additionally, this study presented two predicted equations of collection efficiency from the wood dust load and static pressure drop of the panel filter. These were (1) Collection efficiency (%) = 105.269 - 2.613 Wt (wood dust load) and (2) Collection efficiency (%) = 106.745 - 0.117 Pa (static pressure drop).
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรองกับประสิทธิภาพการกรองฝุ่นไม้ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันสถิตของชุดกรองฝุ่นกับประสิทธิภาพการกรอง โดยใช้ฝุ่นไม้จากอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากไม้ นำฝุ่นไม้นี้ไปร่อนผ่านตะแกรงขนาด 1.50 มม. ใช้ฝุ่นที่ไม่ผ่านตะแกรงใส่ในชุดกรองฝุ่นขนาด 1.0x1.0x0.1 ม. นำฝุ่นขนาดเล็กที่ผ่านชั้นกรองมาป้อนเข้าฮูดของระบบระบายอากาศที่จะถูกดูดต่อไปยังชั้นกรองฝุ่น ศึกษาประสิทธิภาพการกรองฝุ่นโดยการชักตัวอย่างฝุ่นที่ด้านหน้าและหลังชั้นกรองฝุ่นด้วยปั้มเก็บตัวอย่างผ่านกระดาษกรองไฟเบอร์กล๊าส ตลอดการทดลองทำการวัดค่าความดันสถิตภายในท่อด้านหน้าและหลังชั้นกรองเพื่อศึกษาความดันที่เปลี่ยนแปลงในขณะกรองฝุ่น ผลการทดลองพบว่าประสิทธิภาพการกรองฝุ่นมีค่าร้อยละ 99.5 และลดลงเหลือร้อยละ 77.9 เมื่อปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรองมากขึ้น มีความสัมพันธ์ทางลบ (r<-0.913 ถึง -0.953) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งอาจมาจากฝุ่นขนาดเล็กมีการเคลื่อนที่ทะลุผ่านชุดกรอง สำหรับค่าความดันสถิตมีค่าสูงขึ้นเมื่อปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าด้านหน้าชั้นกรองฝุ่นมากขึ้น โดยมีความสัมพันธ์ทางบวก (r<0.962) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้ได้นำเสนอสมการประสิทธิภาพการกรองสองสมการที่มีความสัมพันธ์กับน้ำหนักของฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรองและความดันสถิตของชุดกรอง ดังสมการที่ 1 ประสิทธิภาพการกรอง = 105.269-2.613xน้ำหนักฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรอง และสมการที่ 2 ประสิทธิภาพการกรอง = 106.745 - 0.117xความดันสถิตของชุดกรอง
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรองกับประสิทธิภาพการกรองฝุ่นไม้ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันสถิตของชุดกรองฝุ่นกับประสิทธิภาพการกรอง โดยใช้ฝุ่นไม้จากอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากไม้ นำฝุ่นไม้นี้ไปร่อนผ่านตะแกรงขนาด 1.50 มม. ใช้ฝุ่นที่ไม่ผ่านตะแกรงใส่ในชุดกรองฝุ่นขนาด 1.0x1.0x0.1 ม. นำฝุ่นขนาดเล็กที่ผ่านชั้นกรองมาป้อนเข้าฮูดของระบบระบายอากาศที่จะถูกดูดต่อไปยังชั้นกรองฝุ่น ศึกษาประสิทธิภาพการกรองฝุ่นโดยการชักตัวอย่างฝุ่นที่ด้านหน้าและหลังชั้นกรองฝุ่นด้วยปั้มเก็บตัวอย่างผ่านกระดาษกรองไฟเบอร์กล๊าส ตลอดการทดลองทำการวัดค่าความดันสถิตภายในท่อด้านหน้าและหลังชั้นกรองเพื่อศึกษาความดันที่เปลี่ยนแปลงในขณะกรองฝุ่น ผลการทดลองพบว่าประสิทธิภาพการกรองฝุ่นมีค่าร้อยละ 99.5 และลดลงเหลือร้อยละ 77.9 เมื่อปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรองมากขึ้น มีความสัมพันธ์ทางลบ (r<-0.913 ถึง -0.953) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งอาจมาจากฝุ่นขนาดเล็กมีการเคลื่อนที่ทะลุผ่านชุดกรอง สำหรับค่าความดันสถิตมีค่าสูงขึ้นเมื่อปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าด้านหน้าชั้นกรองฝุ่นมากขึ้น โดยมีความสัมพันธ์ทางบวก (r<0.962) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้ได้นำเสนอสมการประสิทธิภาพการกรองสองสมการที่มีความสัมพันธ์กับน้ำหนักของฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรองและความดันสถิตของชุดกรอง ดังสมการที่ 1 ประสิทธิภาพการกรอง = 105.269-2.613xน้ำหนักฝุ่นที่ปล่อยเข้าชุดกรอง และสมการที่ 2 ประสิทธิภาพการกรอง = 106.745 - 0.117xความดันสถิตของชุดกรอง
Description
Industrial Hygiene and Safety (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Industrial Hygiene and Safety
Degree Grantor(s)
Mahidol University