The public transportation fare structure improvement at Ko Chang in Trat province, Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2021
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 131 leaves: ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Eng. (Logistics and Engineering Management))--Mahidol University, 2021
Suggested Citation
Soopparada Tepmanee The public transportation fare structure improvement at Ko Chang in Trat province, Thailand. Thesis (M.Eng. (Logistics and Engineering Management))--Mahidol University, 2021. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99461
Title
The public transportation fare structure improvement at Ko Chang in Trat province, Thailand
Alternative Title(s)
การปรับปรุงโครงสร้างค่าโดยสารระบบขนส่งสาธารณะ เกาะช้าง จ.ตราด
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research endeavors to improve fare structure at Ko Chang of Trat province in Thailand. The optimum fare and the optimum frequency from the island public transport are evaluated from the willingness to pay method. The questionnaire is set up in price scale and in open-ended questions using the direct customer survey method for travelers can reveal the maximization of fare in their mind. The stated preference technique is used as re-route and re-schedule scenarios but based on current execution. The revenue and cost are essential for fare and frequency improvement. Thus, the transport cost is also examined. Then, the conception of economics is applied for the analyzation. The result appears that the fare from the frequency of one vehicle per hour from every stop of the scenarios is the optimum fare optimum frequency. This is without waiting for a ferry arrival schedule. The other re-route and re-schedule scenarios can also be implemented for fare and frequency improvement to increase public transport demand. Then, the demand and transport costs can be covered according to the consequence of the willingness to pay approach.
งานวิจัยนี้เป็นความพยายามในการปรับปรุงโครงสร้างค่ารถโดยสารสาธารณะที่เกาะช้าง จังหวัดตราดของประเทศไทยโดยใช้แนวคิดความเต็มใจจ่ายในการพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างค่ารถโดยสารที่เหมาะสมของระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อใช้ได้นโยบายที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการขนส่งสาธารณะบนเกาะ งานวิจัยนี้ใช้แบบสำรวจนักท่องเที่ยวด้วยคำถามตรง ด้านราคาค่ารถโดยสาร ผ่านทางแบบสอบถามโดยใช้ร่วมกับคำถามปลายเปิด เพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถเปิดเผยอัตราค่าโดยสารที่เต็มใจจ่ายสูงสุดนอกเหนือจากอัตราราคาที่กำหนดไว้ได้ ทั้งมี การปรับจุดจอดและความถี่ในการเดินรถเป็นสถานการณ์สมมติโดยปรับจากปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังได้ศึกษาด้านต้นทุนการขนส่งของผู้ประกอบการรถโดยสารเนื่องจากการปรับปรุงค่าโดยสารและความถี่ในการให้บริการต้องพิจารณาถึงต้นทุนด้วย โดยงานวิจัยนี้มุ่งเน้นที่ต้นทุนภายในที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้บริการรถขนส่งเท่านั้น ข้อมูลทั้งหมดที่ได้นำไปวิเคราะห์ความถูกต้องตามหลักเศรษฐศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า ความถี่ที่เหมาะสมสำหรับให้บริการนักท่องเที่ยวโดยไม่ต้องรอเวลารถออกให้ตรงตามรอบเรือข้ามฟาก คือความถี่ที่หนึ่งคันต่อชั่วโมงในทุกๆ จุดจอดจากสถานการณ์สมมติที่กำหนดขึ้นและเป็นความถี่ที่เหมาะสมต่อราคาค่าโดยสารที่จะทำการปรับปรุงได้ อย่างไรก็ตามสถานการณ์สมมติอื่นๆ ยังสามารถนำไปใช้เพื่อปรับปรุงโครงสร้างค่าโดยสารเพื่อเพิ่มอุปสงค์การเดินทางรถสาธารณะ และเพื่อให้ครอบคลุมความต้องการและต้นทุนการขนส่งตามผลจากแนวคิดของความเต็มใจจ่าย
งานวิจัยนี้เป็นความพยายามในการปรับปรุงโครงสร้างค่ารถโดยสารสาธารณะที่เกาะช้าง จังหวัดตราดของประเทศไทยโดยใช้แนวคิดความเต็มใจจ่ายในการพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างค่ารถโดยสารที่เหมาะสมของระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อใช้ได้นโยบายที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการขนส่งสาธารณะบนเกาะ งานวิจัยนี้ใช้แบบสำรวจนักท่องเที่ยวด้วยคำถามตรง ด้านราคาค่ารถโดยสาร ผ่านทางแบบสอบถามโดยใช้ร่วมกับคำถามปลายเปิด เพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถเปิดเผยอัตราค่าโดยสารที่เต็มใจจ่ายสูงสุดนอกเหนือจากอัตราราคาที่กำหนดไว้ได้ ทั้งมี การปรับจุดจอดและความถี่ในการเดินรถเป็นสถานการณ์สมมติโดยปรับจากปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังได้ศึกษาด้านต้นทุนการขนส่งของผู้ประกอบการรถโดยสารเนื่องจากการปรับปรุงค่าโดยสารและความถี่ในการให้บริการต้องพิจารณาถึงต้นทุนด้วย โดยงานวิจัยนี้มุ่งเน้นที่ต้นทุนภายในที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้บริการรถขนส่งเท่านั้น ข้อมูลทั้งหมดที่ได้นำไปวิเคราะห์ความถูกต้องตามหลักเศรษฐศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า ความถี่ที่เหมาะสมสำหรับให้บริการนักท่องเที่ยวโดยไม่ต้องรอเวลารถออกให้ตรงตามรอบเรือข้ามฟาก คือความถี่ที่หนึ่งคันต่อชั่วโมงในทุกๆ จุดจอดจากสถานการณ์สมมติที่กำหนดขึ้นและเป็นความถี่ที่เหมาะสมต่อราคาค่าโดยสารที่จะทำการปรับปรุงได้ อย่างไรก็ตามสถานการณ์สมมติอื่นๆ ยังสามารถนำไปใช้เพื่อปรับปรุงโครงสร้างค่าโดยสารเพื่อเพิ่มอุปสงค์การเดินทางรถสาธารณะ และเพื่อให้ครอบคลุมความต้องการและต้นทุนการขนส่งตามผลจากแนวคิดของความเต็มใจจ่าย
Description
Logistics and Engineering Management (Mahidol University 2021)
Degree Name
Master of Engineering
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Logistics and Engineering Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University