Enviroment and food security : contribution of traditional ecological knowledge to community-based food acquisition
Issued Date
2023
Copyright Date
2013
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xix, 287 leaves: ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D (Environment and Resource Studies))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Ekarin Phungpracha Enviroment and food security : contribution of traditional ecological knowledge to community-based food acquisition. Thesis (Ph.D (Environment and Resource Studies))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89547
Title
Enviroment and food security : contribution of traditional ecological knowledge to community-based food acquisition
Alternative Title(s)
สิ่งแวดล้อมและความมั่นคงทางอาหาร : คุณูปการภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการกับระบบอาหารของชุมชน
Author(s)
Abstract
The purpose of this research is to study the community-based food acquisition systems of two communities faced by environmental changes and socio-economic pressure in Dansai District, Loei Province, Thailand, to investigate the roles of traditional ecological knowledge (TEK) in sustaining food security and enhancing well-being of the communities, and to examine the capacity of TEK-based food acquisition of the two communities in response to environmental changes and socio-economic pressures. This interdisciplinary research employs both quantitative and qualitative research methodologies. The data was collected from primary sources: in-depth interviews, participant observations, and plant identification; and secondary sources: published material, related policy documents, and literature reviews. The result of the study shows that food acquisition of Ban Na and Ban Pa is composed of three parts: natural food, agricultural food, and provisions from markets. In Ban Na, villagers planted wet rice and a few cash crops, and had high potential for self-sufficiency. Ban Pa villagers planted dry rice and many economic plants such as corn and para-rubber trees. The villagers tend to rely on food sources from outside the village such as market food. Each food system relates with each other and plays significant roles for both villagers. They are highly contested parts in which socio-economic values play crucial functions as food security. Food acquisition also contributed outcomes adding to or subtracting from ecosystems. Hence, if one of section of food system has dysfunction to distribute food security, the strain is an economic distress, institution malfunction, or environmental change, and the community food system may be risk to food insecurity. As roles and capacities of TEK for community-based food acquisition, Ban Na and Ban Pa were similar. Ban Na and Ban Pa had many ways to access and utilize community food acquisition all year round. However, capacities of TEK of Ban Na and Ban Pa were different ways. In contexts of producing environmentally sustainability, promoting strong communities, and enhancing human well-being, Ban Na and Ban Pa had highly developed TEK in areas such as knowledge of soil, land management, weather, hunting and gathering, and agricultural activities. However, capacities of Ban Pa to practice TEK trended to low many aspects because of many factors such as behavior and belief, economic strain, and limitation of farmland geography. Furthermore, the diversity of TEK practiced by Ban Na and Ban Pa villagers is a necessary adaptation to unpredictable and highly variable food security whereby the resilience of all the TEK is linked to and dependent on each other. Whenever social and ecological diversity of knowledge is reduced, such Ban Pa in the context of applying modernized agricultures, food security is at risk. Whenever the flexibility offered by each mechanism is curtained, community food acquisition suffers, and the community loses its viability and ability to maintain ecosystem service such as natural food resources and local people well-being.
จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเรื่องนี้คือ ศึกษาการจัดการระบบอาหารของสองชุมชน ในอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ประเทศไทย ที่ถูกกดดันจากเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม โดยตรวจสอบ บทบาทและศักยภาพภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการระบบอาหารดังกล่าวเพื่อความมั่นคงทางอาหารและการอยู่ดีมีสุข และ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม การจัดทำบัญชีรายชื่ออาหารจากพืชและสัตว์ และการสำรวจความหลากหลายมื้ออาหารของครัวเรือน ส่วนข้อมูลทุติยภูมิ จะเป็นสิ่งพิมพ์และวรรณกรรมที่สัมพันธ์กับประเด็นศึกษา ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า บ้านนาและบ้านป่าชุมชนสอง ชุมชนที่ใช้เป็นกรณีศึกษาต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ อีกทั้งยังได้รับผลกระทบจากการพัฒนา เศรษฐกิจสังคมจากภาครัฐในกรุงเทพฯ ประเทศไทย ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว ชาวบ้านนาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มดำรงชีพด้วย การทำนาและปลูกพืชเศรษฐกิจเพียงเล็กน้อย ชาวบ้านเข้าถึงแหล่งอาหารจากธรรมชาติจากป่าได้ตามฤดูกาลต่างๆ สิ่ง เหล่านี้แสดงให้ว่าหมู่บ้านแห่งนี้มีความมั่นคงทางอาหารและพึ่งพาตนเองได้ ตรงข้ามกัน วิถีชีวิตชาวบ้านป่าปลูกข้าวไร่และ พืชเศรษฐกิจพวกยางพาราและข้าวโพดบนพื้นที่ภูเขาเป็นจำนวนมาก ชาวบ้านมีแนวโน้มพึ่งพาอาศัยจากตลาดเป็นส่วนใหญ่ ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ชาวบ้านมีสัดส่วนการซื้ออาหารจากตลาดมากขึ้น และมากกว่าการหาอาหารจากธรรมชาติและภาค เกษตร สิ่งที่น่าสนใจคือ หากปีใดที่พืชเศรษฐกิจให้ผลผลิตตกต่ำ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล จะทำให้ชาวบ้าน หลายรายจะมีเงินได้ไม่เพียงพอต่อการซื้ออาหารจากตลาด นำไปสู่ความเสี่ยงด้านความไม่มั่นคงทางอาหารในที่สุด ข้อค้นพบ ที่สำคัญอีกประหนึ่งของงานวิจัยนี้คือ แนวคิดเรื่องความมั่นคงทางอาหารในความหมายท้องถิ่นที่พัฒนาจากฐานคิดของ กระแสหลัก แนวคิดดังกล่าวไม่เพียงแต่จะรวมถึงการเข้าถึง การมีอยู่ และการใช้ประโยชน์จากอาหารที่ให้ความสำคัญกับ อาหารปลอดภัยและความยั่งยืนของมื้ออาหารเท่านั้น หากยังรวมคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แสดงออกทั้งในมิติสัญลักษณ์และ คุณค่าทางจิตใจของคนท้องถิ่น ดังนั้น เพื่อที่จะเข้าความมั่นคงทางอาหารของชุมชนจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ศึกษาต้องให้ ความสำคัญกับการให้ระบบนิเวศที่ทำหน้าที่ให้บริการต่อชุมชน ขณะเดียวกัน เพื่อเพิ่มความมั่นคงทางอาหารให้ยั่งยืน ชุมชนจำเป็นต้องอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบการนิเวศดังกล่าว เฉกเช่นชาวบ้านนำปฏิบัติผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งทำให้ เห็นว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อความมั่นคงอาหารของชุมชนไม่ใช่เป็นสิ่งที่หยุดนิ่ง หากแต่เป็นกระบวนการปฏิบัติที่มีการ ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับบริบทสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปเสมอ ขณะที่ข้อเสนอแนะของงานศึกษาชิ้นนี้คือ ในระดับท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นควรได้รับการสนับสนุนในฐานะยุทธศาสตร์ในการปรับตัวต่อสภาวะอากาศ เศรษฐกิจและสังคมที่ เปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มสภาวะยืดหยุ่นของชุมชนให้เกิดศักยภาพในการปรับตัว อีกทั้งความมั่นคงทางอาหารของชุมชน จะต้องพิจารณาในมุมมองที่เหมาะสมกับสังคม, เศรษฐกิจ, และสิ่งแวดล้อมของแต่ชุมชน ขณะที่ในระดับชาติและนานาชาติ สิ่งสำคัญจะต้องคำนึงก็คือการให้ความสำคัญต่อมุมมองคนท้องถิ่น ความต้องการ และคุณูปราการต่อชุมชนก่อนเสมอ
จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเรื่องนี้คือ ศึกษาการจัดการระบบอาหารของสองชุมชน ในอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ประเทศไทย ที่ถูกกดดันจากเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม โดยตรวจสอบ บทบาทและศักยภาพภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการระบบอาหารดังกล่าวเพื่อความมั่นคงทางอาหารและการอยู่ดีมีสุข และ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม การจัดทำบัญชีรายชื่ออาหารจากพืชและสัตว์ และการสำรวจความหลากหลายมื้ออาหารของครัวเรือน ส่วนข้อมูลทุติยภูมิ จะเป็นสิ่งพิมพ์และวรรณกรรมที่สัมพันธ์กับประเด็นศึกษา ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า บ้านนาและบ้านป่าชุมชนสอง ชุมชนที่ใช้เป็นกรณีศึกษาต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ อีกทั้งยังได้รับผลกระทบจากการพัฒนา เศรษฐกิจสังคมจากภาครัฐในกรุงเทพฯ ประเทศไทย ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว ชาวบ้านนาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มดำรงชีพด้วย การทำนาและปลูกพืชเศรษฐกิจเพียงเล็กน้อย ชาวบ้านเข้าถึงแหล่งอาหารจากธรรมชาติจากป่าได้ตามฤดูกาลต่างๆ สิ่ง เหล่านี้แสดงให้ว่าหมู่บ้านแห่งนี้มีความมั่นคงทางอาหารและพึ่งพาตนเองได้ ตรงข้ามกัน วิถีชีวิตชาวบ้านป่าปลูกข้าวไร่และ พืชเศรษฐกิจพวกยางพาราและข้าวโพดบนพื้นที่ภูเขาเป็นจำนวนมาก ชาวบ้านมีแนวโน้มพึ่งพาอาศัยจากตลาดเป็นส่วนใหญ่ ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ชาวบ้านมีสัดส่วนการซื้ออาหารจากตลาดมากขึ้น และมากกว่าการหาอาหารจากธรรมชาติและภาค เกษตร สิ่งที่น่าสนใจคือ หากปีใดที่พืชเศรษฐกิจให้ผลผลิตตกต่ำ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล จะทำให้ชาวบ้าน หลายรายจะมีเงินได้ไม่เพียงพอต่อการซื้ออาหารจากตลาด นำไปสู่ความเสี่ยงด้านความไม่มั่นคงทางอาหารในที่สุด ข้อค้นพบ ที่สำคัญอีกประหนึ่งของงานวิจัยนี้คือ แนวคิดเรื่องความมั่นคงทางอาหารในความหมายท้องถิ่นที่พัฒนาจากฐานคิดของ กระแสหลัก แนวคิดดังกล่าวไม่เพียงแต่จะรวมถึงการเข้าถึง การมีอยู่ และการใช้ประโยชน์จากอาหารที่ให้ความสำคัญกับ อาหารปลอดภัยและความยั่งยืนของมื้ออาหารเท่านั้น หากยังรวมคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แสดงออกทั้งในมิติสัญลักษณ์และ คุณค่าทางจิตใจของคนท้องถิ่น ดังนั้น เพื่อที่จะเข้าความมั่นคงทางอาหารของชุมชนจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ศึกษาต้องให้ ความสำคัญกับการให้ระบบนิเวศที่ทำหน้าที่ให้บริการต่อชุมชน ขณะเดียวกัน เพื่อเพิ่มความมั่นคงทางอาหารให้ยั่งยืน ชุมชนจำเป็นต้องอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบการนิเวศดังกล่าว เฉกเช่นชาวบ้านนำปฏิบัติผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งทำให้ เห็นว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อความมั่นคงอาหารของชุมชนไม่ใช่เป็นสิ่งที่หยุดนิ่ง หากแต่เป็นกระบวนการปฏิบัติที่มีการ ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับบริบทสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปเสมอ ขณะที่ข้อเสนอแนะของงานศึกษาชิ้นนี้คือ ในระดับท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นควรได้รับการสนับสนุนในฐานะยุทธศาสตร์ในการปรับตัวต่อสภาวะอากาศ เศรษฐกิจและสังคมที่ เปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มสภาวะยืดหยุ่นของชุมชนให้เกิดศักยภาพในการปรับตัว อีกทั้งความมั่นคงทางอาหารของชุมชน จะต้องพิจารณาในมุมมองที่เหมาะสมกับสังคม, เศรษฐกิจ, และสิ่งแวดล้อมของแต่ชุมชน ขณะที่ในระดับชาติและนานาชาติ สิ่งสำคัญจะต้องคำนึงก็คือการให้ความสำคัญต่อมุมมองคนท้องถิ่น ความต้องการ และคุณูปราการต่อชุมชนก่อนเสมอ
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Environment and Resource Studies
Degree Grantor(s)
Mahidol University