A study of attitudes relating to home health visit among applied Thai traditional medical students

dc.contributor.advisorSuprapath Sonjaipanich
dc.contributor.advisorWorapant Kriengsoontornkij
dc.contributor.authorAthippat Tantiwongsekunakorn
dc.date.accessioned2024-01-10T01:27:36Z
dc.date.available2024-01-10T01:27:36Z
dc.date.copyright2019
dc.date.created2019
dc.date.issued2024
dc.descriptionHealth Science Education (Mahidol University 2019)
dc.description.abstractThe aims of this research were to study the attitudes relating to home health visits before and after professional practice experience of applied Thai traditional medical students who studied Bachelor of Applied Thai Traditional Medicine Programme in academic year 2018 at the Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, to study the patients' satisfaction relating to home health visits using a questionnaire which was assessed by three experts for its validity and reliability, and to study the relationship between students' attitudes and patients' satisfaction relating to home health visits by using Pearson's correlation. The results found that attitudes relating to the relationship with patients and patients' relatives had the highest mean difference. The mean difference of attitudes relating to work with the multidisciplinary team and attitudes relating to the role of applied Thai traditional medical practitioners were higher and statistically significant at p < 0.001. Attitudes relating to practice in home health visits had the least mean difference and were not statistically significant. Patients who received home health visits had a good level of satisfaction. Of all the categories, patients' satisfaction relating to general satisfaction had the highest mean. Students' attitudes after professional experience practice were associated with a positive relationship with the patients' satisfaction. (p < 0.001). Instructors and supervisors should select the appropriate teaching methods to enhance some aspects of attitudes of applied Thai traditional medical students by motivating the students to be able to empathize with people, and be conscious of the elderly care. These can effectively assist the students to increase the level of attitudes and eventually increase the patients' satisfaction level from their performance as well as from health care providers
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อศึกษาทัศนคติต่อการเยี่ยมบ้านก่อนและหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์จำนวน 48 คน ที่กำลังศึกษาในหลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2561 และศึกษาความพึงพอใจต่อการเยี่ยมบ้านของผู้ป่วยที่ได้รับการเยี่ยมบ้านจากทีมสหวิชาชีพของหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิศิริราชที่มีนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ จำนวน 48 คน โดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการประเมินหาค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่านนอกจากนี้ยังศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับความพึงพอใจต่อการเยี่ยมบ้านของ ผู้ป่วย โดยใช้สถิติการหาความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า เมื่อเปรียบเทียบทัศนคติต่อการเยี่ยมบ้านของนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ทั้งก่อนและหลังการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยมีค่า mean difference สูงที่สุดด้านการทางานร่วมกันกับสหวิชาชีพและด้านบทบาทของแพทย์แผนไทยประยุกต์ในการเยี่ยมบ้านมีค่ารองลงมาตามลำดับ ทั้งสามด้านมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ค่า p < 0.001 ส่วนด้านลักษณะเวชปฏิบัติการเยี่ยมบ้านมีค่า mean difference น้อยที่สุดและไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยโดยภาพรวมทั้งหมดอยู่ในระดับดี โดยความพึงพอใจในด้านความพึงพอใจโดยทั่วไปของการเยี่ยมบ้าน มีค่าความพึงพอใจสูงที่สุด เมื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับความพึงพอใจต่อการเยี่ยมบ้านของผู้ป่วยพบว่า มีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ค่า p < 0.001 อย่างไรก็ตามในการจัดการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์พี่เลี้ยงควรมีวิธีการที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดทัศนคติบางด้านให้มากขึ้น เช่น การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น และการตระหนักในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุ ซึ่งทัศนคติที่ดีจะส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับการเยี่ยมบ้านจากนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่งเป็นผู้ให้การบริบาลสุขภาพด้วย
dc.format.extentxii, 99 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92198
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectHome Care Services
dc.subjectMedical students -- Attitude
dc.subjectMedicine, Traditional -- Thailand"
dc.titleA study of attitudes relating to home health visit among applied Thai traditional medical students
dc.title.alternativeการศึกษาทัศนคติต่อการเยี่ยมบ้านของนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/553/5937363.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Medicine Siriraj Hospital
thesis.degree.disciplineHealth Science Education
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files