การศึกษาประสิทธิผลระยะยาวของอุปกรณ์เครื่องช่วยขยับข้อเท้าในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเท้าตก
Issued Date
2024-02-23
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Issue
-
Start Page
59
End Page
83
Access Rights
Open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
เบญจพร ศักดิ์ศิริ และนิดา วงศ์สวัสดิ์ (2561). การศึกษาประสิทธิผลระยะยาวของอุปกรณ์เครื่องช่วยขยับข้อเท้าในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเท้าตก. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2560 ครั้งที่5 : หน้า59-83.
Suggested Citation
เบญจพร ศักดิ์ศิริ, นิดา วงศ์สวัสดิ์ การศึกษาประสิทธิผลระยะยาวของอุปกรณ์เครื่องช่วยขยับข้อเท้าในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเท้าตก. เบญจพร ศักดิ์ศิริ และนิดา วงศ์สวัสดิ์ (2561). การศึกษาประสิทธิผลระยะยาวของอุปกรณ์เครื่องช่วยขยับข้อเท้าในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเท้าตก. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2560 ครั้งที่5 : หน้า59-83.. 83. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/97307
Title
การศึกษาประสิทธิผลระยะยาวของอุปกรณ์เครื่องช่วยขยับข้อเท้าในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเท้าตก
Alternative Title(s)
The Long-term Effectiveness of Ankle-Foot Passive Motion Devices for foot drop.
Author(s)
Author's Affiliation
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการการศึกษาผลระยะยาวของอุปกรณ์ เครื่องช่วยขยับข้อเท้าในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเท้าตกจากโรคหลอดเลือดสมอง โรคกระดูก สันหลังทับเส้นประสาท และโรคปลายประสาทอักเสบ โดยดำเนินงานวิจัยเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 พัฒนาอุปกรณ์เครื่องช่วยขยับข้อเท้าเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้เป็นอุปกรณ์ ช่วยขยับข้อเท้าได้ด้วยตัวเอง ส่วนที่ 2 เป็นการทดสอบและประเมินประสิทธิผลระยะ ยาวของอุปกรณ์ช่วยขยับข้อเท้า AK04 ในผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเท้าตก 30 คน ผลการวิจัยพบว่า ในกลุ่มทดลองค่าเฉลี่ยของมุมกระดกข้อเท้าขึ้นเพิ่มขึ้น 14.5 องศา และมีมุมกระดกข้อเท้าลงเพิ่มขึ้น 2 องศา การทดสอบกาวะกล้ามเนื้อข้อเท้าหดเกร็ง พบว่าในกลุ่มทดลองมีค่าภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งน้อยกว่าในกลุ่มควบคุม ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05 และหลังจากใช้อุปกรณ์ช่วยขยับข้อเท้ากลุ่มเป้าหมายมีภาวะ กล้ามเนื้อข้อเท้าหดเกร็งลดลง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ส่วนในกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ย ของมุมกระดกข้อเท้าขึ้นเพิ่มขึ้น 1.6 องศา และมีมุมกระดกข้อเท้าลงเพิ่มขึ้น 1 องศา
The purpose of this research aim to develop the prototype of core stabilize exercise biofeedback device used for supporting core stabilize exercise in low back pain patients. The core stabilize exercise is to strengthen lumbar muscles but it is complicated. The patients do not know themselves that exercise is appropriate and they often do wrong exercise. This research developed the device to help patients know the correctness of exercise. The device was designed to use available materials in Thailand. Away, it was developed to be safe, easy to use and maintenance, appropriate size and inexpensive. In evaluation phase for code BS01 device, The experimental group after used this device that they had increase level of lumbo-pelvic stabilize for 100 % of all participants and average increase more than 2 levels. In evaluation phase for code BS02 device, the participants used the prototype of core stabilize exercise biofeedback device. They had increase level of lumbo- pelvic stabilize scale for 92.9 % of all participants and average increase more than 3 levels. The levels of lumbo-pelvic stabilize scale after using core stabilize exercise biofeedback device is more than the levels before using the device reaching a 0.05 significance level. In the satisfaction questionnaire, the highest score is safety for 82.8%.
The purpose of this research aim to develop the prototype of core stabilize exercise biofeedback device used for supporting core stabilize exercise in low back pain patients. The core stabilize exercise is to strengthen lumbar muscles but it is complicated. The patients do not know themselves that exercise is appropriate and they often do wrong exercise. This research developed the device to help patients know the correctness of exercise. The device was designed to use available materials in Thailand. Away, it was developed to be safe, easy to use and maintenance, appropriate size and inexpensive. In evaluation phase for code BS01 device, The experimental group after used this device that they had increase level of lumbo-pelvic stabilize for 100 % of all participants and average increase more than 2 levels. In evaluation phase for code BS02 device, the participants used the prototype of core stabilize exercise biofeedback device. They had increase level of lumbo- pelvic stabilize scale for 92.9 % of all participants and average increase more than 3 levels. The levels of lumbo-pelvic stabilize scale after using core stabilize exercise biofeedback device is more than the levels before using the device reaching a 0.05 significance level. In the satisfaction questionnaire, the highest score is safety for 82.8%.
Description
การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 5 เรื่อง การบูรณาการสุขภาพผู้สูงอายุในยุค Thailand 4.0. ณ ณ อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ชั้น 2 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา. 5 เมษายน 2560. หน้า 59 - 83