สมรรถนะของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก
Issued Date
2567
Copyright Date
2561
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฎ, 146 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนที่
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
Suggested Citation
นิติมา แสงแก้ว สมรรถนะของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก . วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91906
Title
สมรรถนะของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก
Alternative Title(s)
Competencies of personnel to support the policy of special economic zone in Mae Sot, Tak province
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัย เรื่อง สมรรถนะของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์์ 1) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะหลักที่เป็นจริงและสมรรถนะหลักที่คาดหวังของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก 2) เพื่อศึกษาสมรรถนะที่จำเป็นของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรที่ทำงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 225 คน และผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้บริหารสำนักงานจังหวัดตาก ผู้บริหารสำนักงานเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก ประธานหอการค้า จังหวัดตากและผู้ประกอบการในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก จำนวน 6 คน โดยมีเครื่องมือที่ใใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า 1) สมรรถนะหลักที่เป็นจริงและสมรรถนะหลักที่คาดหวังของบุคลากรมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อเปรียบเทียบความต้องการจำเป็นแล้ว พบว่า บุคลากรมีความต้องการจำเป็นในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน เท่ากับ 0.12 โดยด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ มีค่าดัชนีลำดับความต้องการจำเป็นสูงที่สุด 2)สมรรถนะที่จำเป็นในการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก พบวา่ สมรรถนะที่จำเป็นมากที่สุด ได้แก่ ทักษะทางด้านภาษา และ3)แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก พบว่า ควรจัดตั้งองค์กรที่มีหน้าที่รับผิดชอบเรื่องการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ บุคลากรควรเตรียมความพร้อมทางด้านภาษา และ ควรมีการพัฒนาองค์กรให้มีความเป็นสากล
This research aimed to 1) compare actual core competencies and expected personnel competencies to support the special economic zone in Mae Sot, TAK Province, 2) study the essential personnel competency to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province, and 3) study and plan to develop personnel competencies to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province. The participants were of 6 in-depth interviewees and 225 local government organizations officer. Data were collected using questionnaires and interviews. The results showed that 1) the actual core competencies and expected personnel competencies of officers were statistically significantly different at 0.05 level, and the average difference between actual core competencies and expected personnel competencies in five dimensions was 0.12. The accumulation of professional expertise in career index was the necessary dimension. 2) The essential competency for personnel development to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province was languages proficiency, and 3) The plan for development of personnel competencies to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province, suggests the organization appoint a person in charge to take responsibility of the special economic zone in Mae Sot, Tak Province, organize language preparation courses for officers and develop organization to be the world class organization
This research aimed to 1) compare actual core competencies and expected personnel competencies to support the special economic zone in Mae Sot, TAK Province, 2) study the essential personnel competency to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province, and 3) study and plan to develop personnel competencies to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province. The participants were of 6 in-depth interviewees and 225 local government organizations officer. Data were collected using questionnaires and interviews. The results showed that 1) the actual core competencies and expected personnel competencies of officers were statistically significantly different at 0.05 level, and the average difference between actual core competencies and expected personnel competencies in five dimensions was 0.12. The accumulation of professional expertise in career index was the necessary dimension. 2) The essential competency for personnel development to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province was languages proficiency, and 3) The plan for development of personnel competencies to support the special economic zone in Mae Sot, Tak Province, suggests the organization appoint a person in charge to take responsibility of the special economic zone in Mae Sot, Tak Province, organize language preparation courses for officers and develop organization to be the world class organization
Description
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
Degree Name
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล