Traumatic effects on liver, muscle and renal functions after match in Thai boxers

dc.contributor.advisorChumpol Pholpramool
dc.contributor.advisorPipat Cherdrungsi
dc.contributor.advisorChaiyasith Lechanavanishphan
dc.contributor.authorVitoon Saengsirisuwan
dc.date.accessioned2024-09-04T03:11:49Z
dc.date.available2024-09-04T03:11:49Z
dc.date.copyright1995
dc.date.created1995
dc.date.issued2024
dc.descriptionPhysiology of Exercise (Mahidol University 1995)
dc.description.abstractTo investigate the traumatic effects of Thai boxing on liver, muscle and renal functions, nine young professional Thai boxers participated in this study, while control group consisted of ten sedentary subjects. The general physical characteristics and physical fitness were determined. The 24-hour urine collection and blood samples were obtained from the boxers, seven days before and twelve hours after match to assess function of the kidneys. The plasma activities of transminases (AST, ALT), lactate dehydrogenase (LDH), total creatine kinase (CK), and CK-MB were analysed to evaluate liver and muscle injuries. During the match, all activities of the boxers on the ring were recorded by using two video recorders which were perpendicularly settled. Number and severity of impact on each body site were counted and calculated to the form of impact score. The procedures in the sedentary subjects were the same as the boxers except that the sedentary had no competition and did not perform any sport activities at least two weeks before and during the experiment. It was found that plasma levels of AST, ALT, CK, CK-MB and LDH during the prefight period in the boxers were significantly higher than those of the sedentary controls. After match, only the AST and ALT levels of the boxers were significantly increased. Other plasma enzyme activities were virtually not changed. Consequently, changes in plasma muscle enzyme activities, CK, CK-MB, LDH, were highly correlated with lower limb impact score. Moreover, creatinine clearance was significantly decreased. There were no observable hematuria nor proteinuria. The results indicate that Thai boxing may cause injuries to certain organ such as liver and kidneys, or may occur to the muscle if the severity and number of impact is relatively high. Therefore, boxers and coaches should be aware of this possible injury, and necessary measures should be constructed to protect the boxer health.
dc.description.abstractได้ทำการศึกษาถึงผลของการชกมวยไทยต่อการ ทำงานของตับ ไต และกล้ามเนื้อ ในอาสาสมัครนักมวยไทย สุขภาพสมบูรณ์ 9 คน และกลุ่มควบคุมซึ่งประกอบด้วย อาสาสมัครที่ไม่ได้เป็นนักกีฬาและมีสุขภาพสมบูรณ์ 10 คน โดยทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายทั่วไป วัดสัดส่วนของ ร่างกาย และทำการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง รวมทั้งตัว อย่างเลือด 7 วันก่อนชก และ 12 ชั่วโมงหลังการแข่งขัน เพื่อนำไปตรวจและหาสารต่าง ๆ ได้แก่ ระดับเอ็นไซม์ AST, ALT, CK, CK-MB, LDH ในเลือดเพื่อประเมินการ ทำงานของตับและกล้ามเนื้อ และระดับสารต่าง ๆ ในปัสสาวะ เพื่อประเมินการทำงานของไต นอกจากนั้นในระหว่างการ แข่งขัน ได้ทำการถ่ายบันทึกภาพการแข่งขันเพื่อนำมา พิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนและความรุนแรงของ การปะทะในระหว่างการแข่งขันในบริเวณอวัยวะต่าง ๆ และระดับของการเปลี่ยนแปลงของเอ็นไซม์ กลุ่มควบคุมจะ ถูกทดสอบสมรรถภาพและเก็บตัวอย่างเหมือนกับกลุ่มนักมวย ต่างกันที่ไม่ต้องทำการแข่งข้นและห้ามเล่นกีฬาหรือมีการ ออกกำลังกายในช่วงการทดลอง รวมทั้งช่วงเวลา 2 สัปดาห์ ก่อนการทดลอง ผลการทดลองพบว่า ระดับเอ็นไซม์ในเลือดของนักมวย ก่อนชกมีค่ามากกว่ากลุ่มควบคุมแบบมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ภายหลังการแข่งขันพบว่าทั้ง AST, ALT มีค่า เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเทียบกับค่าก่อนชก ในขณะที่ค่าอื่น ๆ ไม่พบการเปลี่ยนแปลงแบบมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ยับพบอีกว่าค่าของ Creatinine Clearance ในปัสสาวะภายหลังการแข่งขันมีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติเมื่อเทียบกับค่าก่อนชก แต่ไม่พบภาวะความผิด ปกติอื่น ๆ เช่น ไม่พบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ และระดับ ของโปรตีนในปัสสาวะยังคงอยู่ในช่วงปกติ จากการพิจารณา จำนวนและความรุนแรงของการปะทะ พบว่าการเปลี่ยนแปลง ของระดับเอ็นไซม์ของกล้ามเนื้อมีความสัมพันธ์กับความรุนแรง และจำนวนของการปะทะบริเวณขา จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า การชกมวยไทย อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อตับ และไตได้ ในขณะที่ผลต่อ กล้ามเนื้ออาจจะเกิดขึ้นได้เช่นกัน ถ้าความรุนแรงและ จำนวนของการปะทะในระหว่างการแข่งขันมีค่าสูงมาก ดังนั้น ผู้ฝึกสอนควรให้ความสนใจและดูแลสุขภาพของนักมวยให้มาก โดยแนะนำให้มีการตรวจร่างกายร่วมกับการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการเป็นประจำ รวมถึงการฝึกสอนการต่อสู้ที่เน้น วิธีการป้องกันตัวและการใช้อุปกรณ์ป้องกัน ซึ่งจะช่วยลด ความรุนแรงของการบาดเจ็บที่อาจจะเกิดขึ้นได้
dc.format.extentx, 118 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 1995
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100898
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectAtheletic injuries
dc.subjectBoxing
dc.subjectKidney Function Tests
dc.subjectLiver function tests
dc.subjectMuscles -- Injuries
dc.subjectWounds, Nonpenetrating
dc.titleTraumatic effects on liver, muscle and renal functions after match in Thai boxers
dc.title.alternativeการทำงานของตับ ไต และกล้ามเนื้อเนื่องจากบาดเจ็บหลังการชกมวยไทย
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/10437897.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplinePhysiology of Exercise
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files