Factors associated with decision to use contraceptive method among adolescents in an urban community of Bangkok
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 70 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Reproduction and Population Planning))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Prapasri Thepnarong Factors associated with decision to use contraceptive method among adolescents in an urban community of Bangkok. Thesis (M.Sc. (Human Reproduction and Population Planning))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95289
Title
Factors associated with decision to use contraceptive method among adolescents in an urban community of Bangkok
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิดในกลุ่มสตรีวัยรุ่นในชุมชนเมืองกรุงเทพมหานคร
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Sexual relationships among adolescents have become an important public health issue. If these relationships are not planned and no protection is used, they may lead to unplanned pregnancies and sexually transmitted infections which affect not only adolescent health but also the socioeconomic status of the country. This research was a cross-sectional study with the objective to study factors associated with the decision to use contraceptive methods among adolescents in an urban community. The sample was adolescent girls aged 15-19 years old who lived in an urban community of Bangkok. The data were collected by interviewing 153 adolescent girls during 1 November - 31 December 2012 using constructed questionnaires. Descriptive statistics used were frequencies, percentages, means and standard deviations, Chisquare test, Fisher's exact test and multiple logistic regression analysis were used to test the association between these variables with a significance level of p<0.05. The results showed that 92.8% of adolescent girls had ever engaged in sexual intercourse. All of them used contraceptive methods which were divided into 2 groups. First were those who used the folk methods, i.e, coitus interruptus, or periodic abstinence with or without use of condom. Second were those who used the modern method of oral contraceptive pills (OCP). About 70% of adolescent girls used the folk method and 30% used the modern method. Factors which were significantly associated with type of contraceptive methods used(p<0.05) were age, education, occupation, average monthly allowance, residence, marital status of parents, father's occupation and income, mother's occupation, and knowledge about contraception. Adolescent girls who used the modern method when compared to those who used the folk method, were significantly older, had higher education, better knowledge about contraception, worked as an employee, had more monthly allowance, and lived alone or with friends, Their parents were more likely to be separated or divorced, but had less income and worked as employee (fathers) or housewife (mother). When logistic regression analysis was applied, factors which were significantly associated with contraceptive methods were education and average monthly allowance (p<0.05). In conclusion, almost all adolescent girls in an urban community of Bangkok, had already had sexual intercourse and were using contraceptive methods. Factors which were significantly associated with the decision in using which contraceptive methods were education and average monthly allowance. Adolescent girls should have more sex education, especially about contraception, to change to a more reliable and protective contraceptive method
เพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ หากไม่พร้อมหรือไม่ป้องกัน อาจนำไปสู่การตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งนอกจากจะมีผลต่อสุขภาพของวัยรุ่นแล้ว ยังส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยชนิดภาคตัดขวาง เพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิดในกลุ่มสตรีวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่มีอายุ 15- 19 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมืองกรุงเทพมหานคร จำนวน 153 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์โดยใช้ แบบสอบถามที่สร้างขึ้นเองระหว่าง วันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 ถึง 31 ธันวาคม 2555 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของตัวแปรใช้ Chi-square, Fisher's exact test, และ สมการถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่าสตรีวัยรุ่น 129 คน ร้อยละ92.8 มีเพศสัมพันธ์แล้ว และใช้วิธีคุมกำเนิด แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มที่ใช้วิธีคุมกำเนิดชนิดชาวบ้าน (Folk method) คือการนับวัน การหลั่ง ภายนอก ร่วมหรือไม่ร่วมกับการใช้ถุงยางอนามัย ร้อยละ 69.77 วิธีคุมกำเนิดทันสมัย (Modern method) คือ การกินยาเม็ดคุมกำเนิด ร้อยละ30.23 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้วิธีคุมกำเนิดของสตรี วัยรุ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.05) คือ อายุ ระดับการศึกษา ที่อยู่อาศัย อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ลักษณะที่อยู่อาศัย สถานภาพสมรสของพ่อแม่ อาชีพของพ่อ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของพ่อ อาชีพของแม่ และความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิด พบว่า สตรีวัยรุ่นที่ใช้ วิธีทันสมัยมีอายุมากกว่า, เรียนจบสูงกว่า, มีความรู้เรื่องการคุมกำเนิดดีกว่า, ทำงานรับจ้าง, ได้เงินเดือนสูง กว่า, อาศัยอยู่คนเดียวหรือกับเพื่อน พ่อแม่มักจะแยกหรือหย่ากัน พ่อแม่มีรายได้น้อยกว่า พ่อมักจะทำงานรับจ้าง ส่วนแม่มักจะเป็นแม่บ้าน เมื่อทดสอบทางสถิติโดยสมการถดถอยลอจิสติค พบว่ามีปัจจัยที่มี นัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของวัยรุ่น สรุป สตรีวัยรุ่นในชุมชนกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่มีเพศสัมพันธ์แล้วและทั้งหมดเคย คุมกำเนิด ซึ่งแบ่งเป็นวิธีชาวบ้านและวิธีทันสมัย ปัจจัยที่สำคัญที่มีความสัมพันธ์ กับการเลือกใช้วิธี คุมกำเนิดคือระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนจากการทำงาน สตรีวันรุ่นควรได้รับความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดเพิ่มเติม เพื่อให้เลือกใช้วิธีที่เชื่อถือและป้องกันได้มากขึ้น
เพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ หากไม่พร้อมหรือไม่ป้องกัน อาจนำไปสู่การตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งนอกจากจะมีผลต่อสุขภาพของวัยรุ่นแล้ว ยังส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยชนิดภาคตัดขวาง เพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิดในกลุ่มสตรีวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่มีอายุ 15- 19 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมืองกรุงเทพมหานคร จำนวน 153 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์โดยใช้ แบบสอบถามที่สร้างขึ้นเองระหว่าง วันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 ถึง 31 ธันวาคม 2555 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของตัวแปรใช้ Chi-square, Fisher's exact test, และ สมการถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่าสตรีวัยรุ่น 129 คน ร้อยละ92.8 มีเพศสัมพันธ์แล้ว และใช้วิธีคุมกำเนิด แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มที่ใช้วิธีคุมกำเนิดชนิดชาวบ้าน (Folk method) คือการนับวัน การหลั่ง ภายนอก ร่วมหรือไม่ร่วมกับการใช้ถุงยางอนามัย ร้อยละ 69.77 วิธีคุมกำเนิดทันสมัย (Modern method) คือ การกินยาเม็ดคุมกำเนิด ร้อยละ30.23 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้วิธีคุมกำเนิดของสตรี วัยรุ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.05) คือ อายุ ระดับการศึกษา ที่อยู่อาศัย อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ลักษณะที่อยู่อาศัย สถานภาพสมรสของพ่อแม่ อาชีพของพ่อ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของพ่อ อาชีพของแม่ และความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิด พบว่า สตรีวัยรุ่นที่ใช้ วิธีทันสมัยมีอายุมากกว่า, เรียนจบสูงกว่า, มีความรู้เรื่องการคุมกำเนิดดีกว่า, ทำงานรับจ้าง, ได้เงินเดือนสูง กว่า, อาศัยอยู่คนเดียวหรือกับเพื่อน พ่อแม่มักจะแยกหรือหย่ากัน พ่อแม่มีรายได้น้อยกว่า พ่อมักจะทำงานรับจ้าง ส่วนแม่มักจะเป็นแม่บ้าน เมื่อทดสอบทางสถิติโดยสมการถดถอยลอจิสติค พบว่ามีปัจจัยที่มี นัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของวัยรุ่น สรุป สตรีวัยรุ่นในชุมชนกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่มีเพศสัมพันธ์แล้วและทั้งหมดเคย คุมกำเนิด ซึ่งแบ่งเป็นวิธีชาวบ้านและวิธีทันสมัย ปัจจัยที่สำคัญที่มีความสัมพันธ์ กับการเลือกใช้วิธี คุมกำเนิดคือระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนจากการทำงาน สตรีวันรุ่นควรได้รับความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดเพิ่มเติม เพื่อให้เลือกใช้วิธีที่เชื่อถือและป้องกันได้มากขึ้น
Description
Human Reproduction and Population Planning (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Human Reproduction and Population Planning
Degree Grantor(s)
Mahidol University