การรับรู้คุณภาพการบริการทางการพยาบาล : กรณีศึกษาห้องผ่าตัดต้อกระจก
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ณ, 134 แผ่น.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การบริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
เบญจวรรณ จันทร์สามารถ การรับรู้คุณภาพการบริการทางการพยาบาล : กรณีศึกษาห้องผ่าตัดต้อกระจก. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การบริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92544
Title
การรับรู้คุณภาพการบริการทางการพยาบาล : กรณีศึกษาห้องผ่าตัดต้อกระจก
Alternative Title(s)
Perceived of nursing service quality : a case study in Cataract Surgery Department
Author(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ แบบผสมผสานคือ การวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อวัดระดับคุณภาพการบริการห้องผ่าตัดต้อกระจก ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคุณลักษณะประชากรได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ และ ประเภทของบัตรสวัสดิการการรักษาพยาบาลกับระดับคุณภาพการบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการที่ได้รับการผ่าตัดต้อกระจก และการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาคุณภาพการบริการและแนวทางพัฒนาการบริการห้องผ่าตัดตามการรับรู้ของพยาบาลผู้ให้บริการห้องผ่าตัดต้อกระจก โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งเป็นผู้ใช้บริการจำนวน 330 คน พยาบาลผู้ให้บริการจำนวน 10 คน ใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเวลาตั้งแต่เดือนกันยายน ถึงธันวาคม 2558 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ F-test ผลการวิจัยพบว่าระดับคุณภาพการบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการที่ได้รับการผ่าตัดต้อกระจก โรงพยาบาลรามาธิบดีอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.78) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง คุณลักษณะประชากรกับระดับคุณภาพการบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการที่ได้รับการผ่าตัดต้อกระจก พบว่า อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ การศึกษา และรายได้แตกต่างกันมีการรับรู้คุณภาพการบริการทางการพยาบาลต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F=4.393, 3.228, 2.834, 6.423 และ 4.335, all p<.05) และพบว่า เพศ และประเภทของบัตรสวัสดิการการรักษาพยาบาลต่างกันมีการรับรู้คุณภาพการบริการทางการพยาบาลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>.05)
This research is mix-method survey research. The quantitative research was used to measure the quality service of the cataract surgery department and for comparing the differences between population aspects such as gender, age, marital status, occupation, education level, revenue and categories of health care cards. The qualitative research part was used to measure the quality service levels according to the perception of users who had undergone cataract surgery and guidelines in developing the services of surgical department, by selecting a specific sampling group of 330 persons and 10 nurses who provide services. Questionnaire and interviewing forms were the tools used for data collection between September to December, 2015. Data analysis used statistics such as frequency, percentage, average, standard deviation, t-test and F-test. The research results indicate that quality services, according to the perception of users at Ramathibodi Hospital, is at the highest level ( x̅ = 4.78). When comparing the differences between population aspects with quality service levels, according to the perception of users, it was found that their differences in age, marital status, occupation, education levels and revenue with quality services, according to the perception of users, were statistically different at the 0.05 level (F = 4.393, 3.228, 2.834, 6.423, 4.335, all p<0.05), It was found that there were no differences in gender and categories of health care cards with quality services according to the perception of users (p>0.05)
This research is mix-method survey research. The quantitative research was used to measure the quality service of the cataract surgery department and for comparing the differences between population aspects such as gender, age, marital status, occupation, education level, revenue and categories of health care cards. The qualitative research part was used to measure the quality service levels according to the perception of users who had undergone cataract surgery and guidelines in developing the services of surgical department, by selecting a specific sampling group of 330 persons and 10 nurses who provide services. Questionnaire and interviewing forms were the tools used for data collection between September to December, 2015. Data analysis used statistics such as frequency, percentage, average, standard deviation, t-test and F-test. The research results indicate that quality services, according to the perception of users at Ramathibodi Hospital, is at the highest level ( x̅ = 4.78). When comparing the differences between population aspects with quality service levels, according to the perception of users, it was found that their differences in age, marital status, occupation, education levels and revenue with quality services, according to the perception of users, were statistically different at the 0.05 level (F = 4.393, 3.228, 2.834, 6.423, 4.335, all p<0.05), It was found that there were no differences in gender and categories of health care cards with quality services according to the perception of users (p>0.05)
Description
การบริหารโรงพยาบาล (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสาธารณสุขศาสตร์
Degree Discipline
การบริหารโรงพยาบาล
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล