ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวบัตรประจำวัน ภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย
Issued Date
2558
Copyright Date
2558
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 139 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558
Suggested Citation
วาสนา มูลฐี ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวบัตรประจำวัน ภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย. วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93379
Title
ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวบัตรประจำวัน ภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย
Alternative Title(s)
Effect of transitional care program for stroke patients and family caregivers on patient's activities of daily living, complications, and satisfaction
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ภาวะแทรกซ้อนและความพึงพอใจของผู้ป่วย โดยใช้กรอบแนวคิดของเนเลอร์ (Nayler, 2004) ร่วมกับการนำญาติมาเป็นส่วนร่วมในการดูแล กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลจำนวน 60 คู่ โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มควบคุมจำนวน 30 คู่และกลุ่มทดลองจำนวน 30คู่กลุ่ม ตัวอย่างกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติส่วนกลุ่มตัวอย่างกลุ่มทดลองได้รับการดูแลปกติร่วมกับการดูแลด้วยโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านเก็บรวมรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน แบบประเมินภาวะแทรกซ้อน และแบบประเมินความพึงพอใจในบริการที่ได้รับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สถิติที และไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มทดลองมีคะแนนความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p<.05) ส่วนภาวะแทรกซ้อนพบว่าไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม ด้านความพึงพอใจของผู้ป่วย พบว่า คะแนนความพึง พอใจของผู้ป่วยกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) จากผลการวิจัยโปรแกรมนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
The purpose of this quasi-experimental research was to ascertain the effect of transitional care program for stroke patients and family caregivers on patient's activities of daily living, complications, and satisfaction. The conceptual framework of the study was derived from the Naylor's Transition Care Model and family participation. The purposive sample consisted of sixty dyads of acute ischemic stroke patients and their family caregivers. The subjects divided equally between the control group and experimental group. The control group received only conventional nursing care, whereas the experimental group received conventional nursing care coupled with the transitional care program for stroke patients and family caregivers. Data were obtained from semi-structured interview by using questionnaires: the demographic data, the patient's activities of daily living, the patient's complications, and the patient's satisfaction. The data were analyzed using descriptive statistic, Chi-square test, and dependent t-test. The finding of this study revealed that at the one month after patient discharge, the mean scores of patient's activities daily living and the patient's satisfaction of the subject in experimental group were statistically significantly higher than those of the control group (p< .05), the patients all group are no complications. As for the implication of study, it could be used as guideline for acute ischemic stroke patients during transition from hospital to home.
The purpose of this quasi-experimental research was to ascertain the effect of transitional care program for stroke patients and family caregivers on patient's activities of daily living, complications, and satisfaction. The conceptual framework of the study was derived from the Naylor's Transition Care Model and family participation. The purposive sample consisted of sixty dyads of acute ischemic stroke patients and their family caregivers. The subjects divided equally between the control group and experimental group. The control group received only conventional nursing care, whereas the experimental group received conventional nursing care coupled with the transitional care program for stroke patients and family caregivers. Data were obtained from semi-structured interview by using questionnaires: the demographic data, the patient's activities of daily living, the patient's complications, and the patient's satisfaction. The data were analyzed using descriptive statistic, Chi-square test, and dependent t-test. The finding of this study revealed that at the one month after patient discharge, the mean scores of patient's activities daily living and the patient's satisfaction of the subject in experimental group were statistically significantly higher than those of the control group (p< .05), the patients all group are no complications. As for the implication of study, it could be used as guideline for acute ischemic stroke patients during transition from hospital to home.
Description
การพยาบาลผู้ใหญ่ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2558)
Degree Name
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
Degree Discipline
การพยาบาลผู้ใหญ่
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล