Effect of a breastfeeding skill training and supportive program on 6-month-exclusive breastfeeding among first-time mothers

dc.contributor.advisorNittaya Sinsuksai
dc.contributor.advisorTassanee Prasopkittikun
dc.contributor.advisorChukiat Viwatwongkasem
dc.contributor.authorPiyaporn Prasitwattanaseree
dc.date.accessioned2024-01-03T06:02:07Z
dc.date.available2024-01-03T06:02:07Z
dc.date.copyright2017
dc.date.created2017
dc.date.issued2024
dc.descriptionNursing (Mahidol University 2017)
dc.description.abstractThe importance of exclusive breastfeeding is continually emphasized, but the incidence of exclusive breastfeeding until 6 months does not meet this recommendation. Many breastfeeding problems stem from improper positioning, and incorrect latch-on techniques; therefore, the mother requires learning skill on positioning and latching techniques to successfully achieve exclusive breastfeeding. The purpose of this study was to test the effects of a breastfeeding skill training and supportive program on exclusive breastfeeding for six months among first-time mothers. Pender's Health Promotion Model (HPM) provided the theoretical framework of this study. The 84 first-time mothers were recruited to the study and randomly assigned to either an experimental or control group with 42 mothers in each group. The sample in the control group received only routine nursing care, while those in the experimental group participated in the breastfeeding skill training and supportive program combined with routine nursing care. Data were collected by demographic characteristic questionnaire, breastfeeding self-efficacy scale short form (BSES-SF), effective suckling checklist, feeding monitoring form and problems related to breastfeeding record form. The rate of exclusive breastfeeding at 6 months and BSES scores at discharge and at 6 weeks were compared between experimental and control groups by Chi-square test and Mann-Whitney U-test, respectively. The findings showed that 36.6% of mothers in the experimental group achieved 6 months exclusive breastfeeding compared to 14.3% in the control group. The rate of 6 months exclusive breastfeeding in the experimental and the control groups significantly differed (p=.011). Furthermore, the mothers in the experimental group had higher mean scores of breastfeeding self-efficacy than those in the control group at discharge and at 6 weeks postpartum at a statistically significant level (p=.011 and p=.001), respectively. The study findings showed the efficacy of this program to improve the exclusive breastfeeding rate at 6 months. Therefore, nurses should apply this program to continuously promote breastfeeding to mothers from pregnancy throughout the postnatal period and after hospital discharge.
dc.description.abstractความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวได้ถูกเน้นย้ำมาอย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนกลับยังไม่ถึงเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ปัญหาของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส่วนใหญ่เกิดจากท่าในอุ้มลูกดูดนมไม่ถูกวิธี ดังนั้นมารดาจึงควรได้เรียนรู้ทักษะและเทคนิคในการอุ้มลูกดูดนมที่ถูกต้อง เพื่อที่จะทำให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวประสบความสำเร็จ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของโปรแกรมการฝึกทักษะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับการสนับสนุนต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่มีบุตรคนแรก กรอบแนวคิดของการศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาครรภ์แรกจำนวน 84 ราย ถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 42 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับการสนับสนุนและการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา แบบประเมินประสิทธิภาพการดูดนม แบบติดตามการให้อาหารทารก แบบประเมินปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเปรียบเทียบอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาขณะจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลและ 6 สัปดาห์หลังคลอดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ใช้การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบแมน-วิทนีย์ ยู ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า มารดากลุ่มทดลองมีอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนคิดเป็นร้อยละ 36.6 ขณะที่กลุ่มทดลองมีเพียงร้อยละ 14.3 ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.011) นอกจากนี้มารดากลุ่มทดลองยังมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาขณะจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และ 6 สัปดาห์หลังคลอดสูงกว่ากลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.011 และ p=.001), ตามลำดับ ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงถึงประสิทธิภาพของโปรแกรมในการเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ดังนั้นพยาบาลควรนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ไปถึงระยะหลังคลอด และหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล
dc.format.extentix, 179 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2017
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91657
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectBreastfeeding
dc.subjectBreastfeeding skill training
dc.subjectSupportive program
dc.subjectMothers
dc.titleEffect of a breastfeeding skill training and supportive program on 6-month-exclusive breastfeeding among first-time mothers
dc.title.alternativeผลของโปรแกรมการฝึกทักษะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับการสนับสนุน ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่มีบุตรคนแรก
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/544/5336103.pdf
thesis.degree.departmentMahidol University. Faculty of Nursing
thesis.degree.disciplineNursing
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections