Applying decision tree for prioritization of interbank financial transaction
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 36 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Souvaphark Emasiri Applying decision tree for prioritization of interbank financial transaction. Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92382
Title
Applying decision tree for prioritization of interbank financial transaction
Alternative Title(s)
การปรับปรุงการจัดลำดับความสำคัญรายการทางการเงินระหว่างประเทศโดยใช้ต้นไม้ตัดสินใจ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
A cash management plays a huge role in businesses today. It constitutes a service that has been receiving widespread attention to help businesses manage cash effectively, plan financial to maintain liquidity, and able to operate continuously. This includes intermediaries in providing financial institutions that require a system that can handle the volume of transactions and support the base that will increase in the future. The present priority implementation results in problem of delays in Priority Domestic transactions involving foreign exchange. In this study, the researcher conducted a study on international financial transaction of a financial institution by prioritizing the transactions type. It was divided into 3 types of transactions: Urgent transactions (the ones that need to be quickly implemented), Domestic transactions (the ones related to the exchange rate) and Normal 50 transactions (the ones that can be implemented immediately). The researcher studied and grouped the transactions using the J48 Decision Tree method to create a grouping rule f o r a n appropriate entry. The factors taken into consideration were the currency, fund amount, and exchange rate type. The overall model to create rules found that the Adjusted Region-Based Prioritizing Model to be better than traditional, the duration of the transaction was decrease by 22.86% of the total, This research could help reduce the transaction duration and solve the problem of delays related to the uncontrollable exchange rate fluctuations that may result in losses ensue. Other variables should be studied in the future such as the transaction cost, staff overtime including the relevant departments or agencies.
การจัดการเงินสดเข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน ถือเป็นการบริการที่ได้รับความสนใจ อย่างแพร่หลาย ที่จะช่วยให้ธุรกิจจัดการเงินสดได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อการวางแผนทางการเงิน รักษาสภาพคล่อง และสามารถดำเนินธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งตัวกลางในการให้บริการ ได้แก่ สถาบันการเงินที่จะต้องมีระบบและการดำเนินงาน ที่สามารถรองรับปริมาณธุรกรรมที่มากพอ และสามารถรองรับฐานที่จะเพิ่มขึ้น ในอนาคตได้ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาการทำรายการทางการเงินระหว่างประเทศของสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ที่มีการดำเนินการโดยการจัดลำดับ Priority ตามประเภทของรายการ โดย แบ่งเป็น 3 ประเภท ของการดำเนินการ ได้แก่ Urgent รายการ ที่ต้องดำเนินการเร่งด่วน Domestic รายการที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยน และ Normal 50 รายการทั่วไปที่สามารถดำเนินการได้ทันที ซึ่งการจัดลำดับ การดำเนินการในปัจจุบันพบปัญหาการตกค้างของรายการใน Priority Domestic ที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยน ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาและจัดกลุ่มการทำรายการใหม่โดยใช้ Decision Tree วิธี J48 เพื่อให้ได้โมเดล ในการสร้างกฎการจัดกลุ่มการทำรายการที่เหมาะสม โดยมีตัวแปรที่นำมาพิจารณา ได้แก่ สกุลเงินที่ตัดบัญชีสกุลเงินที่ทำรายการ จำนวนเงินที่ทำรายการ ประเภทอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งงานวิจัยชื้นนี้จะช่วยลด ระยะเวลาในการดำเนินการและแก้ไขปัญหาการตกค้างของรายการ ที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยนที่มี ความผันผวน ไม่สามารถควบคุมได้ และอาจจะส่งผลเสียหาย ตามมา ซึ่งในอนาคตจะมีการศึกษา ตัวแปรอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นต้นทุน ต่อรายการ ค่าล่วงเวลาพนักงานรวมไปถึงส่วนงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การจัดการเงินสดเข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน ถือเป็นการบริการที่ได้รับความสนใจ อย่างแพร่หลาย ที่จะช่วยให้ธุรกิจจัดการเงินสดได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อการวางแผนทางการเงิน รักษาสภาพคล่อง และสามารถดำเนินธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งตัวกลางในการให้บริการ ได้แก่ สถาบันการเงินที่จะต้องมีระบบและการดำเนินงาน ที่สามารถรองรับปริมาณธุรกรรมที่มากพอ และสามารถรองรับฐานที่จะเพิ่มขึ้น ในอนาคตได้ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาการทำรายการทางการเงินระหว่างประเทศของสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ที่มีการดำเนินการโดยการจัดลำดับ Priority ตามประเภทของรายการ โดย แบ่งเป็น 3 ประเภท ของการดำเนินการ ได้แก่ Urgent รายการ ที่ต้องดำเนินการเร่งด่วน Domestic รายการที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยน และ Normal 50 รายการทั่วไปที่สามารถดำเนินการได้ทันที ซึ่งการจัดลำดับ การดำเนินการในปัจจุบันพบปัญหาการตกค้างของรายการใน Priority Domestic ที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยน ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาและจัดกลุ่มการทำรายการใหม่โดยใช้ Decision Tree วิธี J48 เพื่อให้ได้โมเดล ในการสร้างกฎการจัดกลุ่มการทำรายการที่เหมาะสม โดยมีตัวแปรที่นำมาพิจารณา ได้แก่ สกุลเงินที่ตัดบัญชีสกุลเงินที่ทำรายการ จำนวนเงินที่ทำรายการ ประเภทอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งงานวิจัยชื้นนี้จะช่วยลด ระยะเวลาในการดำเนินการและแก้ไขปัญหาการตกค้างของรายการ ที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยนที่มี ความผันผวน ไม่สามารถควบคุมได้ และอาจจะส่งผลเสียหาย ตามมา ซึ่งในอนาคตจะมีการศึกษา ตัวแปรอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นต้นทุน ต่อรายการ ค่าล่วงเวลาพนักงานรวมไปถึงส่วนงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University