Human resource planning for Pharmacy Department Under the Aging Society
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 74 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Social, Economic and Administrative Pharmacy))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Apinan Khampetdee Human resource planning for Pharmacy Department Under the Aging Society. Thesis (M.Sc. (Social, Economic and Administrative Pharmacy))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93292
Title
Human resource planning for Pharmacy Department Under the Aging Society
Alternative Title(s)
การวางแผนทรัพยากรบุคคลสำหรับฝ่ายเภสัชกรรมเพื่อสังคมผู้สูงอายุ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Forecasting the hospital pharmacy department manpower is necessary for efficient work in the fast moving environment and aging society. This research aimed to develop an appropriate model to forecast the number of pharmacists required at the in-patient and out-patient pharmacy departments, Ramathibodi hospital, in the next 10 years. A cross-sectional descriptive survey research was employed, the model was constructed by excel software version 2010. Data were retrieved from hospital electronic database and interviewing all the pharmacists working at the in- patients and out-patient pharmacy department. The study was conducted during January 2014 to August 2015. Result: two factors were used to construct the model which were the number of patients per day and the number of drug dispensed per patient. It was found that the number of drug dispensed per patient in combination with the number of drug items dispensed per day played a stronger impact than the number of patients on the number of pharmacists manpower required. Planning for pharmacists working at the in- and out-patient pharmacy departments should be based on many factors not only the number of patients coming to receive services.
การวางแผนกำลังคนสำหรับฝ่ายเภสัชกรรมโรงพยาบาลมีความสำคัญต่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของสิ่งแวดล้อมและสังคมผู้สูงอายุ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองที่เหมาะสมเพื่อทำนายจำนวนของเภสัชกรที่ต้องการสำหรับฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลรามาธิบดีในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้า ใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง สร้างแบบจาลองด้วยเอ็กเซล 2010 โดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลอิเล็ก โทรนิกของโรงพยาบาลและการสัมภาษณ์เภสัชกรทำงานที่ฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกทำการศึกษาระหว่าง เดือนมกราคม 2557 ถึงสิงหาคม 2558 ผู้วิจัยใช้ 2 ปัจจัยในการสร้างแบบจำลอง คือจำนวนผู้ป่วยต่อวัน และ จำนวนรายการยาที่จ่ายต่อผู้ป่วยหนึ่งราย ผลการศึกษาพบว่าจำนวนรายการยาที่จ่ายต่อผู้ป่วยหนึ่งราย และจำนวนรายการยาที่จ่ายต่อวัน มีผลกระทบต่อการทำนายจำนวนเภสัชกรสำหรับฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยนอกมากกว่าจำนวนผู้ป่วยต่อวัน ดังนั้นการวางแผนกำลังคนสำหรับเภสัชกรเพื่อทำงานที่ฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ควรคำนึงถึงหลายๆ ปัจจัยไม่ใช่เพียงจำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการ
การวางแผนกำลังคนสำหรับฝ่ายเภสัชกรรมโรงพยาบาลมีความสำคัญต่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของสิ่งแวดล้อมและสังคมผู้สูงอายุ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองที่เหมาะสมเพื่อทำนายจำนวนของเภสัชกรที่ต้องการสำหรับฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลรามาธิบดีในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้า ใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง สร้างแบบจาลองด้วยเอ็กเซล 2010 โดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลอิเล็ก โทรนิกของโรงพยาบาลและการสัมภาษณ์เภสัชกรทำงานที่ฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกทำการศึกษาระหว่าง เดือนมกราคม 2557 ถึงสิงหาคม 2558 ผู้วิจัยใช้ 2 ปัจจัยในการสร้างแบบจำลอง คือจำนวนผู้ป่วยต่อวัน และ จำนวนรายการยาที่จ่ายต่อผู้ป่วยหนึ่งราย ผลการศึกษาพบว่าจำนวนรายการยาที่จ่ายต่อผู้ป่วยหนึ่งราย และจำนวนรายการยาที่จ่ายต่อวัน มีผลกระทบต่อการทำนายจำนวนเภสัชกรสำหรับฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยนอกมากกว่าจำนวนผู้ป่วยต่อวัน ดังนั้นการวางแผนกำลังคนสำหรับเภสัชกรเพื่อทำงานที่ฝ่ายเภสัชกรรมผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ควรคำนึงถึงหลายๆ ปัจจัยไม่ใช่เพียงจำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการ
Description
Social, Economic and Administrative Pharmacy (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Pharmacy
Degree Discipline
Social, Economic and Administrative Pharmacy
Degree Grantor(s)
Mahidol University