รายงานการวิจัยขีดจำกัดการได้ยินตามการเปลี่ยนแปลงของอายุของคนไทย

dc.contributor.authorอรวรรณ แก้วบุญชูen
dc.contributor.authorพัชราพร เกิดมงคลen
dc.contributor.authorสำลี สาลีกุลen
dc.contributor.authorสุชาติ ใจภักดีen
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุข
dc.date.accessioned2010-11-10T06:23:41Zen
dc.date.accessioned2011-08-26T09:09:52Z
dc.date.accessioned2020-10-05T03:34:22Z
dc.date.available2010-11-10T06:23:41Zen
dc.date.available2011-08-26T09:09:52Z
dc.date.available2020-10-05T03:34:22Z
dc.date.created2553-11-10en
dc.date.issued2547-08-02en
dc.descriptionก-ซ, 28 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโค้งมาตรฐานขีดจำกัดการได้ยินตามการเปลี่ยนแปลงของอายุของคนไทย กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่ไม่เคยประกอบอาชีพที่ต้องสัมผัสเสียงดังมาก่อนเป็นเพศชาย 805 คน และเพศหญิง 1,110 คน มีอายุระหว่าง 7 ปี ถึง 89 ปี กลุ่มตัวอย่างทุกคนได้รับการตรวจวัดขีดจำกัดการได้ยินที่ความถี่ 0.5 , 1, 2, 4 และ 8 กิโลเฮิร์ต หากพบว่ามีความผิดปกติของการได้ยิน จะถูกคัดออกจากการวิเคราะห์ข้อมูล สุดท้ายคงเหลือจำนวนหูตัวอย่างที่การได้ยินปกติ เป็นของเพศชายจำนวน 1,291 หู และของเพศหญิงจำนวน 1,783 หู โค้งมาตรฐานขีดจำกัดการได้ยินได้ถูกสร้างขึ้นโดยใช้ค่าขีดจำกัดการได้ยินที่เปอร์เซ็นไทล์ 25, 50 และ 75 ในแต่ละช่วงอายุ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ขีดจำกัดการได้ยินของคนไทยเพิ่มขึ้นตามอายุ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่อายุ 50 ปีขึ้นไป จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่ากลุ่มตัวอย่างเพศชายจำนวน 172 คน (ร้อยละ 22.4) และเพศหญิงจำนวน 211คน (ร้อยละ 19.0) มีความผิดปกติของการได้ยิน โดยที่ลักษณะความผิดปกติของการได้ยินส่วนใหญ่เป็นความผิดปกติที่ช่วงความถี่สูง จากการวิเคราะห์สาเหตุของความผิดปกติของการได้ยินด้วยสถิติ Logistric regression analysis พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผิดปกติของการได้ยิน ในเพศชายคือ การมีเสียงดังในหู และในเพศหญิง คือการมีเสียงดังในหูและการเป็นหูน้ำหนวกen
dc.description.abstractThis study was conducted to develop the normal aging curve in hearing of Thai people. The subjects were 805 male and 1,110 female who were not occupationally exposed to noise ranging in age from 7 to 89 years. Audiometric threshold testing was performed at the audiometric frequencies of 0.5, 1, 2, 4 and 8 kHz. Subjects with no evidence of hearing impairment were selected to analyse the hearing level. The subjects finally accepted comprised 1,291 male and 1,783 female normal ears. Normal aging curves of hearing level at each frequency were established by calculating the 25th, 50th, and 75th percentiles for each age group. The hearing level gradually increased with age and rapidly over 50 years. In this study, 172 male and 211 female were excluded from the normal group because of hearing impairment. Most of them showed high frequency hearing loss. Logistic regression analysis was used to analyze the items related to hearing impairment. Odds ratio of tinnitus was highest in male and the tinnitus and otitis media was highest in female.
dc.description.sponsorshipสนับสนุนทุนวิจัยโดยมหาวิทยาลัยมหิดลen
dc.format.extent16726784 bytesen
dc.format.mimetypeapplication/pdfen
dc.identifier.isbn9749243048en
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/58881
dc.language.isothaen
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen
dc.subjectการได้ยินen
dc.subjectความสามารถในการได้ยินen
dc.subjectเสียงรบกวนen
dc.subjectการได้ยินผิดปกติen
dc.titleรายงานการวิจัยขีดจำกัดการได้ยินตามการเปลี่ยนแปลงของอายุของคนไทยen
dc.title.alternativeAge variation in hearing threshold of Thai peopleen
dc.typeResearch Reporten
mods.location.copyInformationhttps://library.mahidol.ac.th/record=b1210272

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.8 KB
Format:
Plain Text
Description: