The impact of the learning experiences based on EF guideline on children's executive function skills : a case study of a kindergarten in Bangkok
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 99 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Sutthirat Permsubhirunya The impact of the learning experiences based on EF guideline on children's executive function skills : a case study of a kindergarten in Bangkok. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91800
Title
The impact of the learning experiences based on EF guideline on children's executive function skills : a case study of a kindergarten in Bangkok
Alternative Title(s)
ผลของกระบวนการจัดประสบการณ์ตามแนวทางการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหารต่อทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย กรณีศึกษาโรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
According to the World Economic Forum 2016, the major skills requiring students to achieve in the 21st century involve complex problem solving, critical thinking, creativity, emotional intelligence, judgment and decision making, negotiation, and cognitive flexibility. A number of research shows that the 21st century skills are related to executive function of the brain (EF). EF is a set of higher-order brain processes that enable us to use previous experiences for making good decisions, controlling emotions, and regulating self. One of the most significant factors to promote EF skills in children is the learning experience to which teachers plan to challenge children in classrooms. The purpose of the research was to investigate the impact of the learning experiences based on EF guideline on children's EF skills. EF Guideline is the tool that was developed by the collaboration between the National Institute for Child and Family Development, Mahidol University and RLG Institute which was funded by Thai Health Promotion Foundation, with an aim to help kindergarten teachers realize the importance of teachers' roles of promoting children's EF skills in planning the learning experiences. These involve clear objectives, media, procedure, environment, and atmosphere that enhance the use of EF skills in children's learning, coordinating with others and daily lives. The specific objectives of the study were (1) to analyze the differences between the pre-test and the post-test scores on EF skills of the children within the treatment group and (2) to analyze the differences in the posttest scores on EF skills between the children in the treatment and control groups. The purposive sampling method was utilized in this research. The total sample was 94 children (49 children in the treatment group and 45 children in the control group), 4-5 years old, and studying at a Kindergarten in Bangkok. The teachers in the treatment group participated in the EF Guideline Training Program and used the EF Guideline for planning their learning experiences throughout the semester. The teachers in the control group did not participate in the EF Guideline Program and planned the children's learning experiences based on the teachers' own experience instead of the EF Guideline. For the data analysis, a paired sample t-test was utilized to evaluate the differences in the mean scores on EF skills between pre and post test of the treatment group. A series of multivariate analyses of covariance (MANCOVA) was also utilized to evaluate the differences in the posttest mean scores on EF skills between the treatment and control groups. The results of this study showed that the children in the treatment group significantly had higher posttest mean scores on EF skills, compared to their pre-test scores. In addition, the children in the treatment group had significantly higher post-test scores than those in control group for all subscales in MU.EF Assessment. The results indicated that the learning experiences based on EF Guideline have positive impact on children's EF skills. It is suggested that a similar future research is to be conducted with children of in another different age, area, socio-economic status, and environment
ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การควบคุมอารมณ์ การตัดสินใจ การต่อรอง และการคิดยืดหยุ่น งานวิจัยที่ผ่านมาได้พบว่าทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาผลกระทบของการจัดประสบการณ์ของครูตามแนวทางการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF Guideline) ที่มีต่อทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย EF Guideline คือเครื่องมือที่ถูกพัฒนาขึ้น โดยความร่วมมือของสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบัน RLG และได้รับทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ มีวัตถุประสงค์ย่อยคือ (1) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะสมอง EF ระหว่าง pre test และ post test ในเด็กกลุ่มทดลอง และ (2) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนน post test ของทักษะ EF ระหว่างเด็กในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามภูมิหลังของกลุ่มตัวอย่าง แบบประเมินพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหารในเด็กวันก่อนเรียน (MU.EF-101) และแบบสังเกตพฤติกรรมทักษะสมอง EF การวิจัยครั้งนี้ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 94 คน (กลุ่มทดลอง 49 คน และกลุ่มควบคุม 45 คน) อายุ 4-5 ปี ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ paired sample t-test เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนน pre test และ post test ของทักษะสมอง EF สำหรับกลุ่มเด็กที่อยู่ในห้องทดลอง ผลการศึกษาพบว่าเด็กในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนน post test มากกว่า pre test สำหรับทุกรายการใน MU.EF และแบบสังเกตพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .05 และใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมพหูคูณ (MANCOVA) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนน post test ของทักษะ EF ระหว่างเด็กที่อยู่ในห้องทดลองและห้องควบคุม ผลการศึกษาพบว่าเด็กในห้องทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนน post test มากกว่าเด็กในห้องควบคุมสำหรับทุกรายการใน MU.EF ยกเว้นหัวข้อการควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) และ ทุกรายการสำหรับแบบสังเกตพฤติกรรมทักษะสมอง EF อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .05
ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การควบคุมอารมณ์ การตัดสินใจ การต่อรอง และการคิดยืดหยุ่น งานวิจัยที่ผ่านมาได้พบว่าทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาผลกระทบของการจัดประสบการณ์ของครูตามแนวทางการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF Guideline) ที่มีต่อทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย EF Guideline คือเครื่องมือที่ถูกพัฒนาขึ้น โดยความร่วมมือของสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบัน RLG และได้รับทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ มีวัตถุประสงค์ย่อยคือ (1) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะสมอง EF ระหว่าง pre test และ post test ในเด็กกลุ่มทดลอง และ (2) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนน post test ของทักษะ EF ระหว่างเด็กในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามภูมิหลังของกลุ่มตัวอย่าง แบบประเมินพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหารในเด็กวันก่อนเรียน (MU.EF-101) และแบบสังเกตพฤติกรรมทักษะสมอง EF การวิจัยครั้งนี้ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 94 คน (กลุ่มทดลอง 49 คน และกลุ่มควบคุม 45 คน) อายุ 4-5 ปี ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ paired sample t-test เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนน pre test และ post test ของทักษะสมอง EF สำหรับกลุ่มเด็กที่อยู่ในห้องทดลอง ผลการศึกษาพบว่าเด็กในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนน post test มากกว่า pre test สำหรับทุกรายการใน MU.EF และแบบสังเกตพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .05 และใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมพหูคูณ (MANCOVA) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนน post test ของทักษะ EF ระหว่างเด็กที่อยู่ในห้องทดลองและห้องควบคุม ผลการศึกษาพบว่าเด็กในห้องทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนน post test มากกว่าเด็กในห้องควบคุมสำหรับทุกรายการใน MU.EF ยกเว้นหัวข้อการควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) และ ทุกรายการสำหรับแบบสังเกตพฤติกรรมทักษะสมอง EF อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .05
Description
Human Development (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University