Occupational health risk of informal workers in Bangkok
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 113 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Industrial Hygiene and Safety))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Kodchapan Noochana Occupational health risk of informal workers in Bangkok. Thesis (M.Sc. (Industrial Hygiene and Safety))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95235
Title
Occupational health risk of informal workers in Bangkok
Alternative Title(s)
ความเสี่ยงด้านสุขภาพที่เกิดจากการทำงานของแรงงานนอกระบบในเขตกรุงเทพมหานคร
Author(s)
Abstract
The aim of this study was to assess the occupational health risks for informal workers in Bangkok. Data were collected by questionnaire among 300 taxi drivers, motorbike taxi drivers, hairdressers, and tailors. Statistical analyses used were frequency distribution, mean, percentage, standard deviation, the range of maximum and minimum values, and multiple comparison. There were 130 male informal workers (43.3 percent) and 170 female informal workers (56.7 percent). The data from taxi drivers and motorbike taxi drivers showed risks in working conditions came from poor working posture followed by dust exposure, and they had the highest number of work-related accidents which were traffic accidents at 60 percent and 66.7 percent, respectively. The severity of accident was mostly slight, whereas safe work behavior was mostly moderate. There were no difference in safe work behavior among taxi drivers and motorbike taxi drivers. The highest frequency risk in working conditions for hairdressers was poor working posture followed by usage of chemical substances. The most common accident was cutting injuries at 28.0 percent. The safe work behavior of hairdressers was significantly different from that of taxi drivers and motorbike taxi drivers at p< .05. The highest frequency risk in working conditions for tailors was poor working posture followed by dust exposure. The most common accidents were finger injuries by scissors and injuries from needles followed by electrical shocks. The safe work behavior of tailors was significantly different from that of taxi drivers and motorbike taxi drivers at p< .05. It can be concluded that the occupational health risks for informal workers: taxi drivers, motorbike taxi drivers, hairdressers, and tailors were not different. The cause of occupational health risk was different depending on the difference in working protocols among informal worker groups. This study confirmed the occupational health problems found in these workers; therefore, appropriate health care service must be provided to these informal workers.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความเสี่ยงทางด้านสุขภาพในการทำงานของแรงงาน นอกระบบในกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 300 คน ในกลุ่มอาชีพขับรถแท็กซี่ ขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง กลุ่ม ช่างเสริมสวยและกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างแรงงานนอกระบบเป็นเพศชาย 130 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 และ เป็นเพศหญิง 170 คน คิดเป็นร้อยละ 56.7 โดยส่วนใหญ่ของกลุ่มขับรถแท็กซี่และขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้างมี ความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมการทำงานเนื่องจากท่าทางการทำงาน และรองลงมาคือการรับสัมผัส ฝุ่นละออง กลุ่ม ขับรถแท็กซี่และขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้างเกิดอุบัติเหตุสูงสุดจากยานพาหนะ คิดเป็นร้อยละ 50 และ 66.7 ตามลำดับ ระดับความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุส่วนใหญ่อยู่ในระดับเล็กน้อย โดยพฤติกรรมด้านความปลอดภัย ของกลุ่มแท็กซี่และมอเตอร์ไซด์รับจ้างไม่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่ของกลุ่มช่างเสริมสวยมีความเสี่ยงจาก สภาพแวดล้อมการทำงานสาเหตุจากท่าทางการทำงานและรองลงมาจากการใช้สารเคมี และอุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิด จากการโดนของมีคมบาด คิดเป็นร้อยละ 28.0 พฤติกรรมด้านความปลอดภัยของช่างเสริมสวยมีความแตกต่างกับ กลุ่มขับรถแท็กซี่และกลุ่มขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนใหญ่ของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้ามี ความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมในการทำงานเนื่องจากท่าทางการทำงานรองลงมาคือฝุ่นละอองจากเส้นใยผ้า และ อุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดจากของมีคมบาดและทิ่มแทง พฤติกรรมความปลอดภัยของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้ามีความ แตกต่างกันระหว่างกลุ่มขับแท็กซี่และมอเตอร์ไซด์รับจ้าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 จากการศึกษาสามารถสรุปว่าความเสี่ยงด้านสุขภาพในการทำงานของแรงงานนอกระบบกลุ่มขับ รถแท็กซี่ มอเตอร์ไซด์รับจ้าง กลุ่มช่างเสริมสวยและช่างตัดเย็บเสื้อผ้าไม่แตกต่างกัน ขณะที่อันตรายจากขั้นตอน แต่ละขั้นตอนของการทำงานนั้นมีความแตกต่างกันตามสาเหตุของความเสี่ยงจากการทำงานมีความแตกต่างกัน ตามลักษณะการทำงานที่แตกต่างกัน การศึกษายืนยันปัญหาสุขภาพที่พบจากความเสี่ยงในการทำงาน ดังนั้นแรงงานนอกระบบยัง ต้องการการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมตามลักษณะการทำงานที่แตกต่างกัน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความเสี่ยงทางด้านสุขภาพในการทำงานของแรงงาน นอกระบบในกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 300 คน ในกลุ่มอาชีพขับรถแท็กซี่ ขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง กลุ่ม ช่างเสริมสวยและกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างแรงงานนอกระบบเป็นเพศชาย 130 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 และ เป็นเพศหญิง 170 คน คิดเป็นร้อยละ 56.7 โดยส่วนใหญ่ของกลุ่มขับรถแท็กซี่และขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้างมี ความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมการทำงานเนื่องจากท่าทางการทำงาน และรองลงมาคือการรับสัมผัส ฝุ่นละออง กลุ่ม ขับรถแท็กซี่และขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้างเกิดอุบัติเหตุสูงสุดจากยานพาหนะ คิดเป็นร้อยละ 50 และ 66.7 ตามลำดับ ระดับความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุส่วนใหญ่อยู่ในระดับเล็กน้อย โดยพฤติกรรมด้านความปลอดภัย ของกลุ่มแท็กซี่และมอเตอร์ไซด์รับจ้างไม่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่ของกลุ่มช่างเสริมสวยมีความเสี่ยงจาก สภาพแวดล้อมการทำงานสาเหตุจากท่าทางการทำงานและรองลงมาจากการใช้สารเคมี และอุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิด จากการโดนของมีคมบาด คิดเป็นร้อยละ 28.0 พฤติกรรมด้านความปลอดภัยของช่างเสริมสวยมีความแตกต่างกับ กลุ่มขับรถแท็กซี่และกลุ่มขับรถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนใหญ่ของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้ามี ความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมในการทำงานเนื่องจากท่าทางการทำงานรองลงมาคือฝุ่นละอองจากเส้นใยผ้า และ อุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดจากของมีคมบาดและทิ่มแทง พฤติกรรมความปลอดภัยของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้ามีความ แตกต่างกันระหว่างกลุ่มขับแท็กซี่และมอเตอร์ไซด์รับจ้าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 จากการศึกษาสามารถสรุปว่าความเสี่ยงด้านสุขภาพในการทำงานของแรงงานนอกระบบกลุ่มขับ รถแท็กซี่ มอเตอร์ไซด์รับจ้าง กลุ่มช่างเสริมสวยและช่างตัดเย็บเสื้อผ้าไม่แตกต่างกัน ขณะที่อันตรายจากขั้นตอน แต่ละขั้นตอนของการทำงานนั้นมีความแตกต่างกันตามสาเหตุของความเสี่ยงจากการทำงานมีความแตกต่างกัน ตามลักษณะการทำงานที่แตกต่างกัน การศึกษายืนยันปัญหาสุขภาพที่พบจากความเสี่ยงในการทำงาน ดังนั้นแรงงานนอกระบบยัง ต้องการการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมตามลักษณะการทำงานที่แตกต่างกัน
Description
Industrial Hygiene and Safety (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public health
Degree Discipline
Industrial Hygiene and Safety
Degree Grantor(s)
Mahidol University