Knowledge prioritizing using organization success factor for real estate agent and consulting company
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 118 leaves : col. ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Siriphan Khwanpetch Knowledge prioritizing using organization success factor for real estate agent and consulting company. Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93294
Title
Knowledge prioritizing using organization success factor for real estate agent and consulting company
Alternative Title(s)
การจัดลำดับความรู้โดยใช้ปัจจัยความสำเร็จขององค์กรสำหรับบริษัทตัวแทนและที่ปรึกษาด้านอสังหาริมทรัพย์
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Organizations usually emphasize organizational knowledge as one of the most valuable assets of the organization. It would help the organizations efficiently in decision making to get more competitive advantages. Therefore, knowledge management (KM) is widely used in many organizations. However, many organizations have been unsuccessful at implementing KM since they are not aware of their organizational knowledge. The proposed knowledge prioritization is for solving the problems of organizational knowledge in order to conquer the business. In this research, knowledge prioritizing uses the prioritization matrix as a tool to employ the organizational success factors in the sectors of a real estate agent and consulting company as the variables, where knowledge of ability and expertise are most important. The results have been accepted by four levels of employees: head of business lines, manager, officer, and secretary. The different aspects in each level are also discussed. Finally, the knowledge prioritization approach has also been accepted that it can actually be used in the organizations, depending on the needs of the organizations
ปัจจุบันหลายๆองค์กรต่างให้ความสำคัญในการจัดการองค์ความรู้มากขึ้นโดยถือว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่าขององค์กรอย่างหนึ่งที่จะสามารถสร้างความได้เปรียบในการดำเนินธุรกิจ, ช่วยในการตัดสินใจและสนับสนุนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลายองค์กรจึงมีนำการจัดการความรู้เข้ามาช่วยในการจัดการความรู้ขององค์กร แต่จากการศึกษาพบว่า มีหลายองค์กรที่ไม่ประสบความสาเร็จในการจัดการความรู้ สาเหตุหลักเกิดจากความไม่ทราบหรือไม่ได้ตระหนักถึงความรู้ขององค์กรเท่าที่ควร ดังนั้น การจัดลำดับความสำคัญของความรู้ในองค์กร จึงน่าจะเป็นวิธีที่สามารถทำให้อทราบถึงความต้องการความรู้ที่จำเป็นต่อบุคลากรและช่วยส่งเสริมให้องค์กรประสบความสำเร็จได้ งานวิจัยนี้จึงได้นำการจัดลำดับความสำคัญโดยใช้ Prioritization Matrix เป็นเครื่องมือในการจัดลำดับ โดยนำปัจจัยความสำเร็จขององค์กรมาใช้ในการพิจารณาความสำคัญของความรู้ ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้นำ องค์ความรู้จากบริษัทตัวแทนและที่ปรึกษาด้านอสังหาริมทรัพย์ มาเป็นกรณีศึกษา ผลปรากฎว่า กลุ่มความรู้ในแง่ของประสบการณ์ ความชำนาญ ความสามารถต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริการขององค์กรเป็นความรู้ที่สำคัญที่สุด ซึ่งผลดังกล่าวได้รับการยอมรับจากพนักงานทั้ง 4 ระดับ ได้แก่ ระดับหัวหน้าของสายธุรกิจ ระดับผู้จัดการ ระดับพนักงาน และระดับเลขานุการ ในส่วนของวิธีการในการจัดลำดับนี้ ก็ได้รับการยอมรับว่าสามารถนำไปปรับใช้กับองค์กรได้จริง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการขององค์กรเป็นสำคัญด้วย
ปัจจุบันหลายๆองค์กรต่างให้ความสำคัญในการจัดการองค์ความรู้มากขึ้นโดยถือว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่าขององค์กรอย่างหนึ่งที่จะสามารถสร้างความได้เปรียบในการดำเนินธุรกิจ, ช่วยในการตัดสินใจและสนับสนุนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลายองค์กรจึงมีนำการจัดการความรู้เข้ามาช่วยในการจัดการความรู้ขององค์กร แต่จากการศึกษาพบว่า มีหลายองค์กรที่ไม่ประสบความสาเร็จในการจัดการความรู้ สาเหตุหลักเกิดจากความไม่ทราบหรือไม่ได้ตระหนักถึงความรู้ขององค์กรเท่าที่ควร ดังนั้น การจัดลำดับความสำคัญของความรู้ในองค์กร จึงน่าจะเป็นวิธีที่สามารถทำให้อทราบถึงความต้องการความรู้ที่จำเป็นต่อบุคลากรและช่วยส่งเสริมให้องค์กรประสบความสำเร็จได้ งานวิจัยนี้จึงได้นำการจัดลำดับความสำคัญโดยใช้ Prioritization Matrix เป็นเครื่องมือในการจัดลำดับ โดยนำปัจจัยความสำเร็จขององค์กรมาใช้ในการพิจารณาความสำคัญของความรู้ ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้นำ องค์ความรู้จากบริษัทตัวแทนและที่ปรึกษาด้านอสังหาริมทรัพย์ มาเป็นกรณีศึกษา ผลปรากฎว่า กลุ่มความรู้ในแง่ของประสบการณ์ ความชำนาญ ความสามารถต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริการขององค์กรเป็นความรู้ที่สำคัญที่สุด ซึ่งผลดังกล่าวได้รับการยอมรับจากพนักงานทั้ง 4 ระดับ ได้แก่ ระดับหัวหน้าของสายธุรกิจ ระดับผู้จัดการ ระดับพนักงาน และระดับเลขานุการ ในส่วนของวิธีการในการจัดลำดับนี้ ก็ได้รับการยอมรับว่าสามารถนำไปปรับใช้กับองค์กรได้จริง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการขององค์กรเป็นสำคัญด้วย
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University