แนวทางการพัฒนาบุคลากรของสหวิชาชีพในการดำเนินงานด้านการป้องกันการค้ามนุษย์จากการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศ
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ช, 163 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
สุนิษา ราชภัณฑ์ แนวทางการพัฒนาบุคลากรของสหวิชาชีพในการดำเนินงานด้านการป้องกันการค้ามนุษย์จากการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศ. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92841
Title
แนวทางการพัฒนาบุคลากรของสหวิชาชีพในการดำเนินงานด้านการป้องกันการค้ามนุษย์จากการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศ
Alternative Title(s)
Development of multi-disciplinary team for the prevention of human trafficking and sexual exploitation
Author(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานด้านการป้องกันการค้ามนุษย์จากการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศของทีมสหวิชาชีพ โดยเน้นการศึกษาในประเด็นบุคลากร (Human resource) เป็นสำคัญ และดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) ทั้งนี้ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key informant) เป็นทีมสหวิชาชีพ จำนวน 5 สายวิชาชีพที่ดำเนินงานด้านการป้องกันการค้ามนุษย์จากการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย พนักงานอัยการ 3 ท่าน เจ้าหน้าที่ตำรวจ 5 ท่าน นักสังคมสงเคราะห์ 5 ท่าน นักจิตวิทยา 2 ท่าน และบุคคลที่เกี่ยวข้องและเหมาะสม 5 ท่าน รวม ทั้งสิ้น 20 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลอย่างเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ผลการศึกษาพบว่าปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานด้านการป้องกันการค้ามนุษย์จากการ แสวงหาผลประโยชน์ทางเพศของทีมสหวิชาชีพ คือทรัพยากรมนุษย์ ดังนี้ 1. ด้านการมีบุคลากรไม่เพียงพอ 2. ด้านศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานไม่มีคุณภาพ และ 3. มีการโอนย้ายของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานบ่อย ดังนั้นจึงควรมีแนวทางการพัฒนาและแก้ไขคือ 1. ด้านกำลังพลไม่เพียงพอควรขอรับการสนับสนุนบุคลากรจากหน่วยงานอื่น และมีการวางแผนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในด้านอัตรากำลังพลของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับจำนวนงานที่รับผิดชอบและขนาดขององค์กร 2. ด้านบุคลากรไม่มีคุณภาพ ควรพิจารณารับบุคลากรเข้าทำงานให้มีวุฒิการศึกษา ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ตรงตามสายงานที่จะรับผิดชอบ และควรให้การฝึกอบรมเพื่อ เพิ่มศักยภาพ ความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นการตีความความหมายของผู้เสียหายจากการถูกค้ามนุษย์ในรูปแบบถูกบังคับค้าประเวณี รูปแบบถูกแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศ รูปแบบถูกแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น และการค้าประเวณี และ3.ด้านการโยกย้าย โอนย้ายของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานบ่อย ควรมีการเพิ่มขวัญและกำลังใจให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานโดยการเพิ่มอัตราเงินเดือนและการเลื่อนตำแหน่ง เพื่อเป็นการธำรงรักษา (Maintaing) ผู้มีความรู้ความสามารถที่เป็นกำลังสำคัญขององค์การให้อยู่กับองค์กรด้วยความเต็มใจ
The objective of this qualitative research was to study the problems, obstacles and solutions in the implementation of the prevention of human trafficking and sexual exploitation enforced by multi-disciplinary team. The study focused on human resource issues. A structured interview was used for collecting data from a sample of 20 multi-disciplinarians: 3 prosecutors, 5 polices officers, 5 social workers, 2 psychologists and 5 sexual exploitation victims. Selected through a Purposive sampling. The research findings revealed that there are 3 problems and obstacles of implementation of the prevention of human trafficking and sexual exploitation enforced by the multi-disciplinary team: 1. Lack of manpower 2. Personal qualities and 3. High turnover rate. In relation to the 3 problems and obstacles, the following suggestions were made 1. Relevant staff should request for additional manpower from relevant agencies and for a long term solution, the human resource plan should be well prepared and managed, employee ratio should be suitable and proportionally to employee's work load and organization's size. 2. At the recruiting process level, administrators should consider the candidates' qualification based on specific functional competency, relevant certification and experience before accepting or hiring them. Furthermore, training should be provided to increase and strengthen the multi-disciplinarians' competency and understanding especially about discourses on definition of many forms of human trafficking: forced prostitution, sexual exploitation, other forms of sexual exploitation and prostitution. 3. Increasing employee's morale by approving a pay raise and promotion in order to retain high potential employee and keep the turnover low.
The objective of this qualitative research was to study the problems, obstacles and solutions in the implementation of the prevention of human trafficking and sexual exploitation enforced by multi-disciplinary team. The study focused on human resource issues. A structured interview was used for collecting data from a sample of 20 multi-disciplinarians: 3 prosecutors, 5 polices officers, 5 social workers, 2 psychologists and 5 sexual exploitation victims. Selected through a Purposive sampling. The research findings revealed that there are 3 problems and obstacles of implementation of the prevention of human trafficking and sexual exploitation enforced by the multi-disciplinary team: 1. Lack of manpower 2. Personal qualities and 3. High turnover rate. In relation to the 3 problems and obstacles, the following suggestions were made 1. Relevant staff should request for additional manpower from relevant agencies and for a long term solution, the human resource plan should be well prepared and managed, employee ratio should be suitable and proportionally to employee's work load and organization's size. 2. At the recruiting process level, administrators should consider the candidates' qualification based on specific functional competency, relevant certification and experience before accepting or hiring them. Furthermore, training should be provided to increase and strengthen the multi-disciplinarians' competency and understanding especially about discourses on definition of many forms of human trafficking: forced prostitution, sexual exploitation, other forms of sexual exploitation and prostitution. 3. Increasing employee's morale by approving a pay raise and promotion in order to retain high potential employee and keep the turnover low.
Description
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล