Evaluation of indeterminate HBsAg results in blood donors at Siriraj Hospital
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 69 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Microbiology))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Yuwadee Wanayutthasin Evaluation of indeterminate HBsAg results in blood donors at Siriraj Hospital. Thesis (M.Sc. (Microbiology))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91813
Title
Evaluation of indeterminate HBsAg results in blood donors at Siriraj Hospital
Alternative Title(s)
การประเมินผลการตรวจ HBsAg ที่ให้ผลไม่ชัดเจนในผู้บริจาคโลหิตของโรงพยาบาลศิริราช
Author(s)
Abstract
Hepatitis B surface antigen (HBsAg) is one of the infectious screening markers, which is mandatory to be tested for every donated blood. The reactive result of HBsAg need to be confirmed before permanently deferred donor. The neutralization test is the one of confirmatory test for HBsAg. But this test is not feasible in every routine lab, due to additional cost consumption and extra effort resource. The aim of this study is to evaluate the neutralization confirmatory test, and create the algorithm for using this test in repeatedly reactive HBsAg blood sample in Thai blood donor with other hepatits B virus markers such as hepatitis B core antibody (anti-HBc) and hepatitis B surface antibody (anti-HBs). 525 HBsAg repeatedly reactive samples were included in this study. All samples were retrieved from repository samples of blood donor during January 2014 to May 2016 from blood bank, Siriraj Hospital. These samples were tested by HBsAg neutralization confirmatory test, anti-HBc and anti-HBs. Sample were categorized into 3 group: low signal (S/CO 1.00-9.99), medium high signal (S/CO 10.00-299.99), and high signal (S/CO ≥ 300). These groups were positive by using HBsAg neutralization confirmatory test for 27.69% (18/ 65), 90.63% (29/32) and 100 % (428/428) respectively. The other HBV markers were using to support neutralization confirmatory test. Samples with both negative anti-HBc and anti-HBs were positive neutralization confirmatory test for 10.64% (5/47). Samples with both positive anti-HBc and anti-HBs were positive neutralization confirmatory test for 66.67% (14/21). Sample with only positive anti-HBc was positive neutralization confirmatory test for 99.78% (456/457). None of sample with only positive anti-HBs was positive neutralization confirmatory test (0/9). In conclusion, the samples with high signal (S/CO ≥ 300) showed 100% positive neutralization confirmatory test, and suggested that this group may not need to use neutralization confirmatory test to confirm HBsAg result. The sample with low signal (S/CO 1.00-9.99), medium high signal (S/CO 10.00-299.99) may need to use anti-HBc to support. If anti-HBc showed negative in these groups, the neutralization confirmatory test may suggest to use as a confirm HBsAg testing
โปรตีนที่อยู่บนผิวของไวรัสตับอักเสบ บี (HBsAg) เป็นเครื่องหมายบ่งชี้การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี (HBV) จึงต้องทำการตรวจในผู้บริจาคเลือดทุกราย ในกลุ่มที่ให้ผลบวกต่อ HBsAg จำเป็นต้องได้รับการยืนยันก่อนที่จะทำการตัดสินใจปฏิเสธการรับบริจาคอย่างถาวร การตรวจ HBsAg ด้วยวิธีการ neutralization เป็น confirmatory test อย่างหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ แต่เนื่องจากการตรวจนี้ยังไม่เหมาะที่จะใช้ในทุกห้องปฏิบัติการอันเนื่องมาจากราคา และทรัพยากรที่เพิ่มขึ้นในการตรวจ การศึกษาในครั้งนี้ จึงเป็นการศึกษาเพื่อประเมินผลการใช้ confirmatory test ในกลุ่มตัวอย่างเลือดของผู้บริจาคไทยที่ให้ผลบวกต่อ HBsAg รวมกับการใช้ marker ของไวรัสตับอักเสบ บี อื่นเช่น hepatitis B core antibody (anti-HBc) และ hepatitis B surface antibody (anti-HBs) ตัวอย่าง 525 ตัวอย่างที่ให้ผลบวกถูกใช้ในการศึกษานี้ ตัวอย่างทั้งหมดเป็นตัวอย่างที่เหลือจากงานบริการของงานบริจาคโลหิตโรงพยาบาลศิริราชในช่วง มกราคม พ.ศ. 2557 จนถึง พฤษภาคน พ.ศ. 2559 ตัวอย่างทั้งหมดถูกนำมาทดสอบด้วย HBsAg confirmatory test ตรวจหา anti-HBc และตรวจหา anti-HBs ตัวอย่างทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ให้ผลบวกต่ำ (S/CO 1.00-9.99) กลุ่มที่ให้ผลบวกปานกลางถึงสูง (S/CO 10.00-299.99) และกลุ่มที่ให้ผลบวกสูง (S/CO ≥ 300) โดยตัวอย่างกลุ่มเหล่านี้พบว่าให้ผลบวกด้วยวิธี confirmatory เป็น 27.69% (18/65), 90.63% (29/32) และ 100 % (428/428) ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบโดยใช้ marker ของไวรัสตับอักเสบ บี อื่นร่วมด้วย พบว่า ตัวอย่างที่ให้ผลบวกทั้ง anti-HBc และ anti-HBs ให้ผลบวกต่อ confirmatory test คิดเป็น 10.64% (5/47) ตัวอย่างที่ให้ผลบวกทั้ง anti-HBc และ anti-HBs ให้ผลบวกต่อ confirmatory test คิดเป็น 66.67% (14/21) ตัวอย่างที่ให้ผลบวกเฉพาะ anti-HBc ให้ผลบวกต่อ confirmatory test คิดเป็น 99.78% (456/457) และไม่มีตัวอย่างใดที่ให้ผลบวกเฉพาะ anti-HBs จะให้ผลบวกต่อ confirmatory test (0/9) สรุปผลการศึกษา พบว่าตัวอย่างกลุ่มที่ให้ผลบวกสูง (S/CO ≥ 300) แสดงผล 100% ต่อการตรวจด้วยวิธี confirmatory test แสดงให้เห็นว่า ในตัวอย่างกลุ่มนี้อาจไม่จำเป็นต้องใช้ confirmatory test ในการยืนยันผล HBsAg ในกลุ่ม ตัวอย่าง ที่ให้ผลบวกต่ำ (S/CO 1.00-9.99) และกลุ่มที่ให้ผลบวกปานกลางถึงสูง (S/CO 10.00-299.99) อาจจำเป็นต้องมีผล anti-HBc ในการช่วย หากพบว่า anti-HBc ให้ผลบวก อาจแนะนำให้ใช้ confirmatory test ในการช่วยยืนยัน HBsAg ทำในกลุ่มนี้
โปรตีนที่อยู่บนผิวของไวรัสตับอักเสบ บี (HBsAg) เป็นเครื่องหมายบ่งชี้การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี (HBV) จึงต้องทำการตรวจในผู้บริจาคเลือดทุกราย ในกลุ่มที่ให้ผลบวกต่อ HBsAg จำเป็นต้องได้รับการยืนยันก่อนที่จะทำการตัดสินใจปฏิเสธการรับบริจาคอย่างถาวร การตรวจ HBsAg ด้วยวิธีการ neutralization เป็น confirmatory test อย่างหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ แต่เนื่องจากการตรวจนี้ยังไม่เหมาะที่จะใช้ในทุกห้องปฏิบัติการอันเนื่องมาจากราคา และทรัพยากรที่เพิ่มขึ้นในการตรวจ การศึกษาในครั้งนี้ จึงเป็นการศึกษาเพื่อประเมินผลการใช้ confirmatory test ในกลุ่มตัวอย่างเลือดของผู้บริจาคไทยที่ให้ผลบวกต่อ HBsAg รวมกับการใช้ marker ของไวรัสตับอักเสบ บี อื่นเช่น hepatitis B core antibody (anti-HBc) และ hepatitis B surface antibody (anti-HBs) ตัวอย่าง 525 ตัวอย่างที่ให้ผลบวกถูกใช้ในการศึกษานี้ ตัวอย่างทั้งหมดเป็นตัวอย่างที่เหลือจากงานบริการของงานบริจาคโลหิตโรงพยาบาลศิริราชในช่วง มกราคม พ.ศ. 2557 จนถึง พฤษภาคน พ.ศ. 2559 ตัวอย่างทั้งหมดถูกนำมาทดสอบด้วย HBsAg confirmatory test ตรวจหา anti-HBc และตรวจหา anti-HBs ตัวอย่างทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ให้ผลบวกต่ำ (S/CO 1.00-9.99) กลุ่มที่ให้ผลบวกปานกลางถึงสูง (S/CO 10.00-299.99) และกลุ่มที่ให้ผลบวกสูง (S/CO ≥ 300) โดยตัวอย่างกลุ่มเหล่านี้พบว่าให้ผลบวกด้วยวิธี confirmatory เป็น 27.69% (18/65), 90.63% (29/32) และ 100 % (428/428) ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบโดยใช้ marker ของไวรัสตับอักเสบ บี อื่นร่วมด้วย พบว่า ตัวอย่างที่ให้ผลบวกทั้ง anti-HBc และ anti-HBs ให้ผลบวกต่อ confirmatory test คิดเป็น 10.64% (5/47) ตัวอย่างที่ให้ผลบวกทั้ง anti-HBc และ anti-HBs ให้ผลบวกต่อ confirmatory test คิดเป็น 66.67% (14/21) ตัวอย่างที่ให้ผลบวกเฉพาะ anti-HBc ให้ผลบวกต่อ confirmatory test คิดเป็น 99.78% (456/457) และไม่มีตัวอย่างใดที่ให้ผลบวกเฉพาะ anti-HBs จะให้ผลบวกต่อ confirmatory test (0/9) สรุปผลการศึกษา พบว่าตัวอย่างกลุ่มที่ให้ผลบวกสูง (S/CO ≥ 300) แสดงผล 100% ต่อการตรวจด้วยวิธี confirmatory test แสดงให้เห็นว่า ในตัวอย่างกลุ่มนี้อาจไม่จำเป็นต้องใช้ confirmatory test ในการยืนยันผล HBsAg ในกลุ่ม ตัวอย่าง ที่ให้ผลบวกต่ำ (S/CO 1.00-9.99) และกลุ่มที่ให้ผลบวกปานกลางถึงสูง (S/CO 10.00-299.99) อาจจำเป็นต้องมีผล anti-HBc ในการช่วย หากพบว่า anti-HBc ให้ผลบวก อาจแนะนำให้ใช้ confirmatory test ในการช่วยยืนยัน HBsAg ทำในกลุ่มนี้
Description
Microbiology (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Microbiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University