GIS application for identifying risk areas of Leptospira infection in Sisaket province
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 68 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Chonnanee Khanwong GIS application for identifying risk areas of Leptospira infection in Sisaket province. Thematic Paper (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94085
Title
GIS application for identifying risk areas of Leptospira infection in Sisaket province
Alternative Title(s)
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อระบุระดับความเสี่ยงของพื้นที่ต่อการติดเชื้อเลปโตสไปร่าในจังหวัดศรีสะเกษ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research presents the application of geographic information systems (GIS) to determine the risk level of leptospirosis infection in sub-districts of Sisaket province. The data of geographical risk factors of leptospirosis disease is used for our study taken from four major sources, including Bureau of Epidemiology, Land Development Department, Royal Thai Survey Department, and Thai Meteorological Department. By using the backward elimination technique with multiple logistic regression analysis, the researcher has discovered that there are six significant variables related to the relationship between geographical data and leptospirosis, given as: the utilization of land, physiology of land, the incidence rate of leptospirosis, top soil's pH, the prevalence rate of leptospirosis, and precipitation. All the variables data will be used to create the database and to setup the layers of GIS by defining condition of multiplier overlay of the risk factors. The analysis of GIS data also provides the on-time report, corrects the situation, and reduces the time delay of 506 Report System. This study suggested that GIS prevents and controls not only the leptospirosis but also the other diseases related to the regional environment.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการระบุระดับความเสี่ยงของพื้นที่ต่อการติดเชื้อเลปโตสไปร่า ของตำบลในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลทุติยภูมิของปัจจัยเสี่ยงเชิงพื้นที่ที่เกี่ยวกับการเกิดโรคฉี่หนู ซึ่งรวบรวมมา 4 แหล่งข้อมูล ได้แก่ สำนักระบาดวิทยา กรมพัฒนาที่ดิน กรมแผนที่ทหาร และกรมอุตุนิยมวิทยา ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพื้นที่เสี่ยงในการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุลอจิสติค ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบขจัดออกทีละตัวแปรในการหาปัจจัยเสี่ยงเชิงพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส ได้ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6 ตัวแปร คือ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ความลาดชั้นของพื้นที่ ความถี่ในการเกิดโรคค่า PH ในดินชั้นบน จำนวนผู้ป่วย และปริมาณน้ำฝน จากนั้นนำตัวแปรมาสร้างชั้นข้อมูล และสร้างฐานข้อมูลด้วย GIS โดยกำหนดเงื่อนไขในการซ้อนทับข้อมูลด้วยวิธีผลคูณของปัจจัยเสี่ยง ผลการศึกษา พบว่าการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อระบุระดับความเสี่ยงของ พื้นที่ต่อการติดเชื้อเลปโตสไปร่านั้น มีประโยชน์ต่อการป้องกันควบคุมโรค ทำให้สามารถกำหนดนโยบาย ในการป้องกันควบคุมโรคได้ตรงพื้นที่และทันต่อสถานการณ์การระบาดของโรค และยังสามารถช่วย แก้ปัญหาความล่าช้าของรายงาน 506 ทั้งนี้จากการศึกษายังสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับโรคที่มีความ เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมได้
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการระบุระดับความเสี่ยงของพื้นที่ต่อการติดเชื้อเลปโตสไปร่า ของตำบลในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลทุติยภูมิของปัจจัยเสี่ยงเชิงพื้นที่ที่เกี่ยวกับการเกิดโรคฉี่หนู ซึ่งรวบรวมมา 4 แหล่งข้อมูล ได้แก่ สำนักระบาดวิทยา กรมพัฒนาที่ดิน กรมแผนที่ทหาร และกรมอุตุนิยมวิทยา ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพื้นที่เสี่ยงในการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุลอจิสติค ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์แบบขจัดออกทีละตัวแปรในการหาปัจจัยเสี่ยงเชิงพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส ได้ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6 ตัวแปร คือ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ความลาดชั้นของพื้นที่ ความถี่ในการเกิดโรคค่า PH ในดินชั้นบน จำนวนผู้ป่วย และปริมาณน้ำฝน จากนั้นนำตัวแปรมาสร้างชั้นข้อมูล และสร้างฐานข้อมูลด้วย GIS โดยกำหนดเงื่อนไขในการซ้อนทับข้อมูลด้วยวิธีผลคูณของปัจจัยเสี่ยง ผลการศึกษา พบว่าการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อระบุระดับความเสี่ยงของ พื้นที่ต่อการติดเชื้อเลปโตสไปร่านั้น มีประโยชน์ต่อการป้องกันควบคุมโรค ทำให้สามารถกำหนดนโยบาย ในการป้องกันควบคุมโรคได้ตรงพื้นที่และทันต่อสถานการณ์การระบาดของโรค และยังสามารถช่วย แก้ปัญหาความล่าช้าของรายงาน 506 ทั้งนี้จากการศึกษายังสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับโรคที่มีความ เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมได้
Description
Technology of Information System Management (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Technology of Information System Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University