The impacts of the I am tap program on the preschool children's executive function skills
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 74 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Apirak Tamaekong The impacts of the I am tap program on the preschool children's executive function skills. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91807
Title
The impacts of the I am tap program on the preschool children's executive function skills
Alternative Title(s)
ผลของโปรแกรม I am tap ต่อทักษะด้านความคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Executive function (EF) is a set of high-level brain process for regulating emotions, thoughts and behaviors to achieve directed goals by modification from previous experience. The core of the EF skills includes Inhibitory Control, Working Memory and Shifting. EF skills are related to the required skills significant to prepare children to the 21st century. EF skills develop quickly from an early age throughout adolescence, especially at 3 - 6 years of age. Thus, early childhood is the window of opportunity for promoting children's EF skills. This research tried to develop I AM TAP program that is a set of group activities for promoting EF skills in preschool classrooms. The purpose of this research was to investigate the impacts of the I AM TAP program on children's EF skills. Quasi-experimental research with control group was designed. The sample was 68 children aged 4 to 6, studying in an government kindergarten. The simple was divided into 2 groups, an experimental group (n = 31) and a control group (n = 37). The sample in the intervention group participated in I AM TAP program for 20-30 minutes each time, 2 times a week for 9 weeks. The sample in the control group participated in the regular school activities. The instrument used in this research was Assessment of Executive Function in Early Childhood (MU.EF-101). The analysis of paired simple t-test showed that after participating in the I AM TAP program, the sample in the experimental group had significantly higher posttest-mean scores than pretest-mean scores on EF skills. The analysis of independent t-test showed that the sample in the intervention group significantly had higher mean scores on EF skill development, comparing to the sample in the control group. The analysis of the Person Product-moment correlation coefficient also showed the significant correlations between the mean scores on I AM TAP and EF skills.
การคิดเชิงบริหาร (Executive Function) คือ กระบวนการทางานของสมองระดับสูง ที่ควบคุมความรู้สึก ความคิด และพฤติกรรม ให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายโดยอาศัยประสบการณ์เดิมมาช่วยในการตัดสินใจ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมไอแอมแท็ป ต่อทักษะความคิดเชิงบริหารของเด็กซึ่งโปรแกรมไอแอมแท็ป เป็นชุดกิจกรรมกลุ่มที่ส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหารที่สามารถเข้าไปร่วมใช้กับแผนการเรียนการสอนในห้องเรียนเด็กปฐมวัยได้งานวิจัยชิ้นนี้ เป็นแบบกึ่งทดลอง แบบมีกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่าง คือเด็กปฐมวัย อายุอยู่ระหว่าง 4-6 ปี รวมทั้งหมด 68 คน เรียนอยู่ในโรงเรียนอนุบาล โดยในกลุ่มทดลองมี 31 คน และกลุ่มควบคุมมี 37 คน เด็กที่อยู่ในกลุ่มทดลอง จะได้เข้าร่วมโปรแกรมไอแอมแท็ป ทั้งหมด 18 ครั้ง ครั้งละ 20-30 นาที 2 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นระยะเวลา 9 สัปดาห์ ส่วนเด็กที่อยู่ในกลุ่มควบคุม จะเรียนตามแผนการเรียนการสอนปกติ การศึกษาครั้งนี้ใช้เครื่องมือ ได้แก่ แบบประเมินพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหาร (MU.EF-101) เพื่อประเมินทักษะความคิดเชิงบริหารของเด็กก่อนและหลังการใช้โปรแกรมไอแอมแท็ป ผลจากการวิเคราะห์ทางสถิติ Paired simple t-test พบว่า หลังจากเข้าร่วมโปรแกรม เด็กในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะความคิดเชิงบริหารสูงกว่าก่อนเข้าร่วมอย่างมีนัยสำคัญ และเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม โดยการวิเคราะห์ทางสถิติ Independent t-test แล้ว พบว่า เด็กในกลุ่มทดลองมีคะแนนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารสูงกว่าเด็กในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเมื่อทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันพบว่า คะแนน ไอแอมแท็ปมีสหสัมพันธ์กับการคิดเชิงบริหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้วิจัยได้นาเสนอข้อเสนอแนะในการทาครั้งต่อไปและอภิปรายผลในส่วนท้ายของงานวิจัยชิ้นนี้
การคิดเชิงบริหาร (Executive Function) คือ กระบวนการทางานของสมองระดับสูง ที่ควบคุมความรู้สึก ความคิด และพฤติกรรม ให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายโดยอาศัยประสบการณ์เดิมมาช่วยในการตัดสินใจ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมไอแอมแท็ป ต่อทักษะความคิดเชิงบริหารของเด็กซึ่งโปรแกรมไอแอมแท็ป เป็นชุดกิจกรรมกลุ่มที่ส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหารที่สามารถเข้าไปร่วมใช้กับแผนการเรียนการสอนในห้องเรียนเด็กปฐมวัยได้งานวิจัยชิ้นนี้ เป็นแบบกึ่งทดลอง แบบมีกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่าง คือเด็กปฐมวัย อายุอยู่ระหว่าง 4-6 ปี รวมทั้งหมด 68 คน เรียนอยู่ในโรงเรียนอนุบาล โดยในกลุ่มทดลองมี 31 คน และกลุ่มควบคุมมี 37 คน เด็กที่อยู่ในกลุ่มทดลอง จะได้เข้าร่วมโปรแกรมไอแอมแท็ป ทั้งหมด 18 ครั้ง ครั้งละ 20-30 นาที 2 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นระยะเวลา 9 สัปดาห์ ส่วนเด็กที่อยู่ในกลุ่มควบคุม จะเรียนตามแผนการเรียนการสอนปกติ การศึกษาครั้งนี้ใช้เครื่องมือ ได้แก่ แบบประเมินพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหาร (MU.EF-101) เพื่อประเมินทักษะความคิดเชิงบริหารของเด็กก่อนและหลังการใช้โปรแกรมไอแอมแท็ป ผลจากการวิเคราะห์ทางสถิติ Paired simple t-test พบว่า หลังจากเข้าร่วมโปรแกรม เด็กในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะความคิดเชิงบริหารสูงกว่าก่อนเข้าร่วมอย่างมีนัยสำคัญ และเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม โดยการวิเคราะห์ทางสถิติ Independent t-test แล้ว พบว่า เด็กในกลุ่มทดลองมีคะแนนการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารสูงกว่าเด็กในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเมื่อทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันพบว่า คะแนน ไอแอมแท็ปมีสหสัมพันธ์กับการคิดเชิงบริหารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้วิจัยได้นาเสนอข้อเสนอแนะในการทาครั้งต่อไปและอภิปรายผลในส่วนท้ายของงานวิจัยชิ้นนี้
Description
Human Development (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University