การพัฒนากระบวนการพยาบาลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องและครอบครัว : รูปแบบการให้บริการที่หน่วยล้างไตทางช่องท้องร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ณ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
Issued Date
2024-05-30
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Volume
12
Issue
1
Start Page
97
End Page
106
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
ณัฐชมนต์ วรพัฒน์วัชรกุล, ชลชญา บุญจันทร์ตรี (2024). การพัฒนากระบวนการพยาบาลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องและครอบครัว : รูปแบบการให้บริการที่หน่วยล้างไตทางช่องท้องร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ณ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก. 12(1), 106. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98741
Title
การพัฒนากระบวนการพยาบาลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องและครอบครัว : รูปแบบการให้บริการที่หน่วยล้างไตทางช่องท้องร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ณ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
Alternative Title(s)
Development of the nursing process for peritoneal dialysis patients and their families: A Multidisciplinary Practice Model at the Peritoneal Dialysis Unit at Golden Jubilee Medical Center, Faculty of Medicine Siri raj Hospital Mahidol University
Author(s)
Author's Affiliation
Abstract
ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่เลือกรับการรักษาบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีล้างไตทางช่องท้อง (Continuous ambulatory peritoneal dialysis: CAPD) นั้นเป็นวิธีการรักษาโดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ซึ่งพยาบาลเฉพาะทางมีบทบาทสำคัญที่ช่วยให้การดูแลล้างไตทางช่องท้องประสบความสำเร็จเริ่มตั้งแต่ คอยให้คำปรึกษา การให้ความรู้ การสอน แก้ไขปัญหา ภาวะแทรกซ้อน การเสริมพลัง ตลอดจนดูแลจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้านได้อย่างปลอดภัยตามมาตรฐานวิชาชีพ ในรูปแบบการให้บริการที่หน่วยล้างไตทางช่องท้องที่ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
Patients with end-stage chronic kidney failure and those who decide to receive kidney replacement therapy using peritoneal dialysis [Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD)], which is a treatment method that emphasizes the participation of the patient and family in continuous self-care at home. Specialized nurses play an essential role in helping to provide successful peritoneal dialysis care, from giving advice, providing knowledge, teaching, solving problems and complications, and building morale. According to professional standards and taking care of discharging patients home safely, our service was provided at the peritoneal dialysis unit with a multidisciplinary team.
Patients with end-stage chronic kidney failure and those who decide to receive kidney replacement therapy using peritoneal dialysis [Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD)], which is a treatment method that emphasizes the participation of the patient and family in continuous self-care at home. Specialized nurses play an essential role in helping to provide successful peritoneal dialysis care, from giving advice, providing knowledge, teaching, solving problems and complications, and building morale. According to professional standards and taking care of discharging patients home safely, our service was provided at the peritoneal dialysis unit with a multidisciplinary team.
Description
การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 12 เรื่อง “Team Work Makes Dream Work เพราะทุกคนคือคนสำคัญของทีม”. ณ ศูนย์ประชุมมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดลศาลายา, นครปฐม. 3-5 เมษายน 2567. หน้า 97-106