Factors influencing environmentally sound electronic waste management in Bangkok, Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 124 leaves : col. ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Wassana Jangprajak Factors influencing environmentally sound electronic waste management in Bangkok, Thailand. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92469
Title
Factors influencing environmentally sound electronic waste management in Bangkok, Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในกรุงเทพมหานคร
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of this study were to study factors influencing environmentally sound electronic waste management in Bangkok. Data collection included document study, observation in the area and in-depth interviews with informal sector in Sue Yai Authit community, uses questionnaires with saleng in selected 10 Districts in Bangkok and group discussions with junkshop owners and related agencies. The data was analyzed by content analysis, multiple regression analysis and factor analysis. The study indicated that, there were 4 aspects in study area: 1) increasing electronic waste 2) mixing with general waste 3) inappropriate electronic waste management by informal sector, and 4) health and environment impact. There were three steps in electronic waste management: the first step was collection of electronic waste by saleng and itinerant waste buyers who gathered electronic waste from households and dormitories, then, sold to waste sorter in community. The second step was separation/dismantlement of electronic waste by waste sorter in community, and sending to junk shop. The third step was the extraction processes by the junk shop that was selling parts and waste to industrial plants for recycling. Factors influencing environmentally sound electronic waste management were 1) model on environmentally sound electronic waste management; 2) electronic waste management laws with cooperation of all sectors; 3) economic value added; 4) empowerment of informal sector, and; 5) increasing the capacity of the informal sector. In addition to those factors, the proposed guidelines were that 1) the central government could design guidelines for environmentally sound electronic waste management focusing on informal sector by setting clear management policies, including legal measures, and relevant regulations; 2) local government is the coordinator of the operation with the informal sector to provide knowledge on electronic waste management, and; 3) informal sector should combine the network of informal sector, and register with local government to get welfare from the government including appropriated knowledge on electronic waste management which will reduce health and environmental impact.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการศึกษาเอกสาร การสังเกตในพื้นที่ สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้คัดแยกในชุมชนเสือใหญ่อุทิศ ใช้แบบสอบถามกับซาเล้งใน 10 เขตของกรุงเทพมหานคร และการสนทนากลุ่มกับร้านรับซื้อของเก่า เจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์การถดถอยพหุ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการศึกษาพบว่า สภาพปัญหาในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ 1) ปริมาณซากผลิตภัณฑ์ฯ ที่เพิ่มมากขึ้น 2) การทิ้งซากผลิตภัณฑ์ปะปนไปกับขยะทั่วไป 3) การคัดแยกและถอดรื้อซากผลิตภัณฑ์ฯ อย่างไม่เหมาะสมของกลุ่มผู้คัดแยกในชุมชน และ 4) กระบวนการคัดแยกและจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ ไม่ถูกหลักวิชาการ ส่งผลกระทบด้านสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม และทรัพยากร ขั้นตอนหลักในการจัดการ 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนการเก็บรวบรวม โดยซาเล้ง และรถเร่ รับซื้อซากผลิตภัณฑ์ฯ จากบ้านเรือนประชาชนและหอพักนำมามาขายต่อให้ผู้คัดแยกในชุมชน 2) ขั้นตอนการคัดแยกและถอดรื้อโดยผู้คัดแยกในชุมชนนำไปคัดแยกและถอดรื้อ และส่งชิ้นส่วน รวมทั้งซากผลิตภัณฑ์ฯ ขายกับร้านรับซื้อของเก่าในชุมชน และ 3) ขั้นตอนการหลอม สกัดกำจัดโดยร้านรับซื้อของเก่าส่งขายชิ้นส่วนและซากผลิตภัณฑ์ฯ ให้กับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อนำไปรีไซเคิล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ ของการคัดแยกนอกระบบในกรุงเทพมหานคร 5 ปัจจัยหลัก ได้แก่ รูปแบบการ จัดการซากผลิตภัณฑ์อย่างถูกหลักวิชาการ กฎหมายในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ โดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ การเสริมสร้างศักยภาพของผู้คัดแยกนอกระบบและการเพิ่มขีดความสามารถของผู้คัดแยกนอกระบบ ข้อเสนอแนวทางการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ ของการคัดแยกนอกระบบ ควรเป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย 1) ภาครัฐส่วนกลางประกาศนโยบายการจัดการให้ชัดเจน รวมทั้งออกมาตรการทางด้านกฎหมาย กฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง 2) ราชการส่วนท้องถิ่น ประสานการดำเนินงานกับผู้คัดแยกนอกระบบ และ 3) ผู้คัดแยกนอกระบบรวมกลุ่มเครือข่ายของผู้คัดแยกนอกระบบ และลงทะเบียนกับราชการส่วนท้องถิ่น เพื่อรับสวัสดิการจากภาครัฐ รวมทั้งองค์ความรู้ในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ อย่างถูกหลักวิชาการ ลดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการศึกษาเอกสาร การสังเกตในพื้นที่ สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้คัดแยกในชุมชนเสือใหญ่อุทิศ ใช้แบบสอบถามกับซาเล้งใน 10 เขตของกรุงเทพมหานคร และการสนทนากลุ่มกับร้านรับซื้อของเก่า เจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์การถดถอยพหุ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการศึกษาพบว่า สภาพปัญหาในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ 1) ปริมาณซากผลิตภัณฑ์ฯ ที่เพิ่มมากขึ้น 2) การทิ้งซากผลิตภัณฑ์ปะปนไปกับขยะทั่วไป 3) การคัดแยกและถอดรื้อซากผลิตภัณฑ์ฯ อย่างไม่เหมาะสมของกลุ่มผู้คัดแยกในชุมชน และ 4) กระบวนการคัดแยกและจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ ไม่ถูกหลักวิชาการ ส่งผลกระทบด้านสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม และทรัพยากร ขั้นตอนหลักในการจัดการ 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนการเก็บรวบรวม โดยซาเล้ง และรถเร่ รับซื้อซากผลิตภัณฑ์ฯ จากบ้านเรือนประชาชนและหอพักนำมามาขายต่อให้ผู้คัดแยกในชุมชน 2) ขั้นตอนการคัดแยกและถอดรื้อโดยผู้คัดแยกในชุมชนนำไปคัดแยกและถอดรื้อ และส่งชิ้นส่วน รวมทั้งซากผลิตภัณฑ์ฯ ขายกับร้านรับซื้อของเก่าในชุมชน และ 3) ขั้นตอนการหลอม สกัดกำจัดโดยร้านรับซื้อของเก่าส่งขายชิ้นส่วนและซากผลิตภัณฑ์ฯ ให้กับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อนำไปรีไซเคิล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ ของการคัดแยกนอกระบบในกรุงเทพมหานคร 5 ปัจจัยหลัก ได้แก่ รูปแบบการ จัดการซากผลิตภัณฑ์อย่างถูกหลักวิชาการ กฎหมายในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ โดยความร่วมมือของทุกภาคส่วน การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ การเสริมสร้างศักยภาพของผู้คัดแยกนอกระบบและการเพิ่มขีดความสามารถของผู้คัดแยกนอกระบบ ข้อเสนอแนวทางการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ ของการคัดแยกนอกระบบ ควรเป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย 1) ภาครัฐส่วนกลางประกาศนโยบายการจัดการให้ชัดเจน รวมทั้งออกมาตรการทางด้านกฎหมาย กฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง 2) ราชการส่วนท้องถิ่น ประสานการดำเนินงานกับผู้คัดแยกนอกระบบ และ 3) ผู้คัดแยกนอกระบบรวมกลุ่มเครือข่ายของผู้คัดแยกนอกระบบ และลงทะเบียนกับราชการส่วนท้องถิ่น เพื่อรับสวัสดิการจากภาครัฐ รวมทั้งองค์ความรู้ในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ฯ อย่างถูกหลักวิชาการ ลดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
Description
Technology of Environmentsl Management (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmentsl Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University