Anti-corruption practice in promotion and tranfering in administrative official

dc.contributor.advisorWanaporn Tehagaisiyavanit
dc.contributor.advisorSunee Kanyajit
dc.contributor.advisorKamol Supreyasunthorn
dc.contributor.advisorSrisombat Chokprajakchat
dc.contributor.authorSuwat Chansug
dc.date.accessioned2024-01-10T05:37:00Z
dc.date.available2024-01-10T05:37:00Z
dc.date.copyright2016
dc.date.created2016
dc.date.issued2024
dc.descriptionCriminology, Justice Administration and Society (Mahidol University 2016)
dc.description.abstractThis study was an investigation of the concept of criminological philosophy and penology to help stipulate a criteria of the punishment suspension measures in the Criminal Code, Section 56 for substantial application. This was documentary research that also employed an in-depth interview with judges working in the Trial Court, the Appeals Court, and the Supreme Court. The results revealed that the sentences stipulated were appropriate for the offense and the offenders. The suspension was a measure the court could decide to impose on some types of offenses and for the offenders appropriate to their conditions and their individuality in each case. This was to provide opportunity for the offenders to became good citizens, without criminal records and to deter short-term imprisonment. Most judges, on the contrary, never applied the punishment suspension measures in their judgments but imposed the reprieve. Rationally, most judges reflected on the penalty account and viewed that it was adequate, that the punishment stipulated needed to follow the penalty account and the laws while disregarding other facts such as the defendant's historical records, gravity, and the damages caused by the offense. The judges might have fear of the penalty account had not been followed, they would have to blamed for not aligning with the penalty account; it was then inferred as corruption (if their judgment) Consequently, the judges adhered to the penalty account as the principle of judgment in order to protect themselves and ignored facts to complement their judgment. There should be a standard criteria to enable the judges to impose the punishment suspension measures in their judgments through using the concept of criminological philosophy and penology as guides for the substantial stipulation. The recommendations from the study were; it was necessary to stipulate the criteria of penalty account, offenses should be stipulated in the rate of the penalty account so that the courts could, in the same direction, impose the punishment suspension measures and meet the rule of law. The knowledge and the concept of penology theory should be promoted among the judges.
dc.description.abstractการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้าย เป็นต้นทางของการทุจริตประเภทอื่น ๆ ในระบบราชการ การวิจัย เรื่องการต่อต้านการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้ายของข้าราชการฝ่ายปกครอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทุจริตและการต่อต้านการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้ายของข้าราชการฝ่ายปกครอง รวมถึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้กับการต่อต้านการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้ายของข้าราชการฝ่ายปกครอง โดยทำการศึกษาในเชิงปริมาณกับข้าราชการฝ่ายปกครองตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด และ นายอำเภอ จำนวน 397 คน และเชิงคุณภาพโดยสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับข้าราชการระดับสูงที่เคยปฏิบัติงานด้านการบริหารงานบุคคลของข้าราชการฝ่ายปกครอง จำนวน 5 คน ผลการวิจัย พบว่า ข้าราชการฝ่ายปกครองส่วนใหญ่เคยทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้าย ในลักษณะการหาผู้สนับสนุน หรือวิ่งเต้น ให้ได้รับการแต่งตั้งโยกย้าย ควบคู่ไปกับการดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายกำหนด โดยการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้ายดังกล่าว กระทำผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ความสัมพันธ์ทางสายการบังคับบัญชา ความสัมพันธ์ทางสถาบันการศึกษา และความสัมพันธ์ทางการเมืองขณะที่ข้าราชการฝ่ายปกครองส่วนใหญ่มีความพร้อมในระดับสูงในการต่อต้านการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้ายหากมีความชัดเจนในเรื่องนโยบายการแก้ไขปัญหาการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้าย แต่การแสดงออกอย่างเป็นรูปธรรมยังมีความนิ่งเฉย และมักไม่มีการแสดงออกใด ๆ และพบว่า พฤติกรรมการต่อต้านการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้ายของข้าราชการฝ่ายปกครอง มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้เรื่องการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้าย ผลการวิจัย แสดงให้เห็นว่า การสร้างการเรียนรู้และสร้างการเข้าใจให้กับข้าราชการ และ ผู้บังคับบัญชา รวมถึงประชาชนทั่วไป การลดการใช้ดุลยพินิจให้น้อยที่สุด และการสร้างช่องทางในการแสดงออกถึงการต่อต้านการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้าย โดยภาครัฐให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้าย จะมีส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการทุจริตในการแต่งตั้งโยกย้ายได้
dc.format.extentix, 124 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2016
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92259
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectPolitical corruption
dc.subjectPolitical corruption -- Prevention -- Thailand
dc.titleAnti-corruption practice in promotion and tranfering in administrative official
dc.title.alternativeการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในการแต่งตั้งโยกย้ายในข้าราชการฝ่ายปกครอง
dc.typeDoctoral Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/558/5236859.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Social Sciences and Humanities
thesis.degree.disciplineCriminology, Justice Administration and Society
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections