The effects of keyguard use with typing aid in Thai language on children with cerebral palsy

dc.contributor.advisorWiraman Niyomphol
dc.contributor.advisorRattana Rattanatharn
dc.contributor.advisorWilai Kusolvisitkul
dc.contributor.authorPimon Jongpaisalsatit
dc.date.accessioned2025-04-01T03:16:13Z
dc.date.available2025-04-01T03:16:13Z
dc.date.copyright2002
dc.date.created2025
dc.date.issued2002
dc.descriptionRehabilitation Service for Persons with Disabilities (Mahidol University 2002)
dc.description.abstractThe objective of this research is to study the effects of the use of keyguards and customized typing aids on accuracy and speed when typing on computer keyboards in the Thai language. The subjects are 13 students with cerebral palsy at Srisangwal School between grades 2-8 during the academic year of 2001. Keyguard and hand stick are low assistive technology devices that help children with cerebral palsy to type or press on the keyboard more accurately. The subjects have Thai reading and spelling skills according to the school standard but had difficulty in using arms and hands to press any key on the standard computer keyboard. The data was collected through experiment, tests and assessment of the use of keyguards and/or typing aids in Thai language through a Thai test typing program. Each subject performed a typing test in four different methods and the results were collected and analyzed. The results found that there is highest accuracy in typing using a keyguard with a typing aid. Typing using a keyguard only is more accurate than using a typing aid only and not using any assistive device. It was discovered that there was a high level of accuracy using keyguard only and using both keyguard and typing aid. In contrast, there was a low level of accuracy using a typing aid only and not using any assistive device. This indicates that the presence or absence of a keyguard affects typing accuracy. In addition, the result also shows that typing on the keyboard using both a keyguard and a typing aid is the most suitable method for severe athetoid cerebral palsy children. Typing on the keyboard using a keyguard only is the most suitable method for moderate athetoid cerebral palsy children. Mild athetoid cerebral palsy children performed at the same level typing on the keyboard without using any assistive device and using a typing aid only. This study concludes that keyguards and customized typing aids can help cerebral palsy children with difficulty using standard computer keyboards type in the Thai language more easily with better speed and accuracy.
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาผลของการใช้คีย์การ์ดและอุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง ต่อความถูกต้องแม่นยำและความเร็วในการกดแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ภาษาไทยของเด็กสมองพิการ โดยกลุ่มเด็กสมองพิการที่นำมาศึกษาในครั้งนี้เป็นเด็กสมองพิการในโรงเรียนศรีสังวาลย์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2544 จำนวน 13 คน ซึ่งมีปัญหาความยากลำบากในการกดแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ ทั้งคีย์การ์ดและอุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์เป็นอุปกรณ์เครื่องช่วยที่ใช้เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน ที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้เด็กสมองพิการสามารถกดแป้นพิมพ์ได้ถูกต้องแม่นยำมากขึ้น การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการทดลอง ทดสอบ และประเมินผลการใช้คีย์การ์ดและ/หรือใช้อุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์โดยใช้โปรแกรมการฝึกพิมพ์ภาษาไทยเป็นต้นแบบในการทดสอบ โดยที่เด็กแต่ละคนจะทำการทดสอบการใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างกันทั้ง 4 วิธี และนำผลที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า การใช้ดีย์การ์ดร่วมกับอุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์สามารถช่วยให้เด็กสมองพิการกดแป้นพิมพ์ได้ถูกต้องแม่นยำมากที่สุด การใช้คีย์การ์ดเพียงอย่างเดียวสามารถกดแป้นพิมพ์ได้ถูกต้องแม่นยำกว่าการใช้อุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์เพียงอย่างเดียวรวมทั้งการไม่ใช้อุปกรณ์ช่วยใดๆ นอกจากนั้นยังพบว่าการใช้คีย์การ์ดเพียงอย่างเดียวสามารถกดแป้นพิมพ์ได้ถูกต้องแม่นยำดีใกล้เคียงกับการใช้ทั้งคีย์การ์ดร่วมกับอุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์ แต่ในทางกลับกัน การใช้อุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์เพียงอย่างเดียวสามารถกดแป้นพิมพ์ได้ความถูกต้องแม่นยำต่ำใกล้เคียงกับการไม่ใช้อุปกรณ์ช่วยใดๆ ซึ่งแสดงให้เห็นถึง ผลของการใช้คีย์การ์ดและการไม่ใช้คีย์การ์ดช่วยในการกดแป้นพิมพ์ นอกจากนั้นการใช้ทั้งคีย์การ์ดร่วมกับอุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์ยังเป็นวิธีที่เหมาะสมสำหรับเด็กสมองพิการประเภท Athetoid ที่มีระดับความรุนแรงของอาการมาก ส่วนการใช้คีย์การ์ดเพียงอย่างเดียวเหมาะสำหรับเด็กสมองพิการประเภท Athetoid ที่มีระดับอาการปานกลาง และการใช้อุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์เพียงอย่างเดียว กับการไม่ใช้อุปกรณ์ช่วยใดๆ นั้นเด็กสมองพิการประเภท Athetoid ที่มีระดับอาการน้อยสามารถกดแป้นพิมพ์ได้ความแม่นยำเท่ากัน ดังนั้นสามารถสรุปผลการศึกษาได้ว่าการใช้คีย์การ์ดร่วมกับอุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์ สามารถช่วยให้เด็กสมองพิการที่มีปัญหาในการกดแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ภาษาไทย สามารถกดแป้นพิมพ์ได้สะดวกรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำมากขึ้น
dc.format.extentx, 130 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.A. (Rehabilitation Service for Persons with Disabilities))--Mahidol University, 2002
dc.identifier.isbn9740417035
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107345
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectCerebral palsy
dc.subjectPeople with disabilities -- Rehabilitation
dc.subjectRehabilitation technology
dc.titleThe effects of keyguard use with typing aid in Thai language on children with cerebral palsy
dc.title.alternativeผลของการใช้คีย์การ์ดร่วมกับอุปกรณ์ช่วยกดแป้นพิมพ์ภาษาไทยสำหรับเด็กสมองพิการ
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/4236192.pdf
thesis.degree.departmentRatchasuda College
thesis.degree.disciplineRehabilitation Service for Persons with Disabilities
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Arts

Files