A study of the result of target behavior change by applied behavior based safety and protection motivation theory

dc.contributor.advisorVichai Pruktharathikul
dc.contributor.advisorSomporn Kantharadussadee Triamchaisri
dc.contributor.advisorSukhontha Siri
dc.contributor.authorNicharuch Panjaphothiwat
dc.date.accessioned2024-01-25T04:06:57Z
dc.date.available2024-01-25T04:06:57Z
dc.date.copyright2015
dc.date.created2024
dc.date.issued2015
dc.descriptionOccupational Health and Safety (Mahidol University 2015)
dc.description.abstractThe purpose of this study was to investigate the results of the safety behavioral change process between the Behavior Based Safety (BBS) and the Protection Motivation Theory (PMT) techniques. The subjects were the workers in the polishing department of a factory in Pathumthani province. The participants in this program were divided into two groups, including 10 workers in the BBS group and 10 workers in the PMT group. The study began with the identification of at-risk behaviors and three target safety behaviors were selected according to the prioritized setting. The BBS and the PMT techniques were implemented for 12 weeks. Samples of the participants' safety behaviors were observed and recorded by the participants themselves. In addition, the assessment of knowledge, attitudes and behaviors regarding to safety at work of both target groups were collected by using self-administered questionnaire. The results showed that the workers in the BBS and the PMT target groups developed increased target safety behaviors compared to before the study from 88.89% to 100% and 92.59% to 98.17%, respectively, at the end of the study. The target safety behaviors before and after the experiment within the BBS group and the PMT group were different significantly (p=0.039) and (p=0.021), respectively. In contrast, the target safety behaviors before and after the experiment between the BBS and the PMT groups were not different significantly (p=0.634). The assessment results from the questionnaire were found that knowledge, attitudes and behaviors regarding safety at work of the BBS and the PMT target groups increased from before the study. In summary, it was found that both the BBS and the PMT techniques were able to change the safety behaviors of the workers and the results of both techniques were not significantly different. Nonetheless, the PMT technique can be applied using with workers who have less safety skills to those who are skillful. However, the BBS was more effective than PMT when applied to the workers who have already been good in terms of safety skills and the BBS is likely to take shorter time for workers' behavioral change than the PMT technique.
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความปลอดภัยระหว่างเทคนิค Behavior Based Safety (BBS) และเทคนิค Protection Motivation Theory (PMT) ของพนักงานแผนกขัดในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง ซึ่งทำการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เทคนิคBBS จำนวน 10 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เทคนิค PMT จำนวน 10 คน โดยเริ่มการศึกษาด้วยการบ่งชี้พฤติกรรมเสี่ยงและคัดเลือกไปเป็นพฤติกรรมความปลอดภัยเป้าหมายจำนวน 3 พฤติกรรมจากการจัดลาดับความสาคัญ เพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ โดยให้กลุ่มตัวอย่างสังเกตและบันทึกพฤติกรรมความปลอดภัยเป้าหมายของกันและกันเอง และได้ประเมินความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน ก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม ด้วยแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง BBS มีเปอร์เซ็นต์พฤติกรรมความปลอดภัยเป้าหมายเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 88.89 เป็นร้อยละ 100 โดยมีพฤติกรรมความปลอดภัยเป้าหมายก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p=0.039) และกลุ่มตัวอย่าง PMT มีเปอร์เซ็นต์พฤติกรรมความปลอดภัยเป้าหมายเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 92.59 เป็นร้อยละ 98.17 โดยมีพฤติกรรมความปลอดภัยเป้าหมายก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p=0.021) และเมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาระหว่างกลุ่มตัวอย่าง BBS และกลุ่มตัวอย่าง PMT พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมความปลอดภัยเป้าหมายก่อนและหลังการทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p=0.634) ผลการประเมินจากแบบสอบถาม พบว่า กลุ่มตัวอย่าง BBS และกลุ่มตัวอย่าง PMT มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนการทดลอง การศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยเทคนิค BBS และ PMT สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานได้ และให้ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ต่างกัน แต่อย่างไรก็ตามเทคนิค PMT สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับพนักงานได้ตั้งแต่ผู้ที่มีพื้นฐานทักษะความปลอดภัยน้อยไปจนถึงผู้ที่มีทักษะมาก ในขณะที่เทคนิค BBS จะให้ประสิทธิผลมากกว่าเมื่อนำไปใช้กับพนักงานที่มีทักษะความปลอดภัยดีอยู่แล้วพอสมควร และมีแนวโน้มสามารถใช้เวลาในการเปลี่ยนพฤติกรรมได้สั้นกว่าเทคนิค PMT
dc.format.extentxiii, 100 leaves : ill., tables
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Occupational Health and Safety))--Mahidol University, 2015
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94064
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectIndustrial safety -- Management
dc.subjectOccupational Health
dc.subjectMotivation (Psychology)
dc.titleA study of the result of target behavior change by applied behavior based safety and protection motivation theory
dc.title.alternativeการศึกษาผลของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป้าหมายด้วยวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อความปลอดภัย และทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการป้องกัน
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd498/5536969.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Public Health
thesis.degree.disciplineOccupational Health and Safety
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files