Timbre as differentiation in songs of Thai indie music band Polycat
Issued Date
2024
Copyright Date
2016
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
vi, 74 leaves : ill., music
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Music))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Variyaporn Wiroonrat Timbre as differentiation in songs of Thai indie music band Polycat. Thesis (M.A. (Music))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91815
Title
Timbre as differentiation in songs of Thai indie music band Polycat
Alternative Title(s)
คุณลักษณ์ของเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ในเพลงของวงดนตรีโพลีแคท
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study explored two songs "Phop Kan Mai" (So long!) and "Wayla Ter Yim" (You had me at hello) by an indie pop band 'Polycat'. The method used were analysis of common music theory practice (creating complete scores) and analysis of timbral materials. The lyrics of the songs were observed using Robert Cogan's observation of Linguistic phonology based on the Phonological research of Roman Jakobson and Linda Waugh and of N. S. Trubetzkoy. The words containing vowels in both songs were examined phonologically and divided into four timbral qualities: grave (dark), acute (bright), sustained and clipped. When the verbal analysis was combined with the instrumentation part, more sonic oppositions were introduced, and through spectrogram analysis software, an analysis of timbre spectrum of both songs was created. The results were presented in graphs that showed the amount of the energy in each section of the song, and extreme or non-extreme timbre qualities of each word in the section. The graphs also enabled the researcher to identify more complex or less complex layers and the direction of the whole instrumentation along with the lyrics.
งานวิจัยนี้ศึกษาเพลง 2 เพลง คือ "พบกันใหม่" และ "เวลาเธอยิ้ม" ของ ศิลปินวงโพลีแคท (Polycat) โดยมีวิธีการวิเคราะห์และศึกษา 2 วิธี คือ การวิเคราะห์โดยใช้ทฤษฎีดนตรีแบบ ตะวันตก (สร้าง score เพลง) และ การวิเคราะห์คุณลักษณ์ของเสียงด้านต่าง ๆ โดยใช้ทฤษฎี Linguistic Phonology ซึ่งอิงจากงานวิจัยด้าน Phonological ของ Roman Jakobson , Linda Waugh และ N. S. Trubetzkoy. โดยศึกษาเนื้อเพลงที่มีการใช้สระเสียงต่าง ๆ และแบ่งออกเป็น 4 คุณลักษณ์ด้วยกัน คือ grave (dark), acute (bright) , sustained และ clipped และเมื่อนำ คุณลักษณ์ทางเสียงสระ เหล่านี้มาศึกษาร่วมกับ การผสมผสานเสียงดนตรี จะพบคุณลักษณ์ของคลื่นเสียงที่นำมาวิเคราะห์เพิ่มขึ้น โดยมีการใช้ spectrogram software เข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์และนำเสนอเป็นกราฟให้เห็นชัดเจน ซึ่งข้อมูลจากกราฟนี้ ช่วยให้ผู้วิจัยสามารถเข้าใจคุณลักษณ์ของเสียง การทับซ้อน และทิศทางของเสียงดนตรีต่าง ๆ พร้อมกับเนื้อเพลงในเวลาเดียวกันด้วย
งานวิจัยนี้ศึกษาเพลง 2 เพลง คือ "พบกันใหม่" และ "เวลาเธอยิ้ม" ของ ศิลปินวงโพลีแคท (Polycat) โดยมีวิธีการวิเคราะห์และศึกษา 2 วิธี คือ การวิเคราะห์โดยใช้ทฤษฎีดนตรีแบบ ตะวันตก (สร้าง score เพลง) และ การวิเคราะห์คุณลักษณ์ของเสียงด้านต่าง ๆ โดยใช้ทฤษฎี Linguistic Phonology ซึ่งอิงจากงานวิจัยด้าน Phonological ของ Roman Jakobson , Linda Waugh และ N. S. Trubetzkoy. โดยศึกษาเนื้อเพลงที่มีการใช้สระเสียงต่าง ๆ และแบ่งออกเป็น 4 คุณลักษณ์ด้วยกัน คือ grave (dark), acute (bright) , sustained และ clipped และเมื่อนำ คุณลักษณ์ทางเสียงสระ เหล่านี้มาศึกษาร่วมกับ การผสมผสานเสียงดนตรี จะพบคุณลักษณ์ของคลื่นเสียงที่นำมาวิเคราะห์เพิ่มขึ้น โดยมีการใช้ spectrogram software เข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์และนำเสนอเป็นกราฟให้เห็นชัดเจน ซึ่งข้อมูลจากกราฟนี้ ช่วยให้ผู้วิจัยสามารถเข้าใจคุณลักษณ์ของเสียง การทับซ้อน และทิศทางของเสียงดนตรีต่าง ๆ พร้อมกับเนื้อเพลงในเวลาเดียวกันด้วย
Description
Music (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Music
Degree Discipline
Music
Degree Grantor(s)
Mahidol University