Development of the detection of Babesia bovis in cattle by polymerase chain reaction
Issued Date
2024
Copyright Date
1996
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 131 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Biochemistry))--Mahidol University, 1996
Suggested Citation
Klaokwan Saengsombut Development of the detection of Babesia bovis in cattle by polymerase chain reaction. Thesis (M.Sc. (Biochemistry))--Mahidol University, 1996. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100755
Title
Development of the detection of Babesia bovis in cattle by polymerase chain reaction
Alternative Title(s)
การพัฒนาวิธีการตรวจหาเชื้อ Babesia bovis ในโคโดยปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Babesia bovis is a tick-transmitted protozoan parasite causing babesiosis in cattle. Because of its lethal pathogenicity to cattle, endemicity of babesiosis affects livestock industry in Thailand. Thus, development of procedures for detection the parasite is essential for appropriate therapeutic purposes and epidemiology studies. A specific DNA probe for B. bovis detection, pMU-B1, has already been cloned. The 6.0 kb insert was subcloned into Bluescribe M13(-) vector at Sau3AI site. Sixteen clones which gave positive signals when probed with labeled B. bovis DNA were obtained from colony hybridization. pMU-BS7 was selected as a candidate because of its highest signal per insert size. pMU-BS7 contained 329 bp with 49.5 % G+C content. The amplification primers were designed from 329 bp fragment for the semi-nested PCR in order to enhance the specificity and sensitivity of B.bovis detection. The amplification product of outer (BV2 and BV3) and inner pairs (BV1 and BV2) were 182 bp and 155 bp, respectively. The assay was specific for B.bovis since no amplification was detected with Babesia bigemina, Trypanosoma evansi, Anaplasma marginale, Theileria sp., or bovine leukocyte DNA. Using this semi-nested PCR method, the limit of sensitivity of detection of B.bovis-infected blood in ethidium bromide stained agarose gel was 0.0002% parasitemia, and using DNA hybridization was down to 0.00002 % parasitemia, which is equivalent to 10 parasites in 10 (...)l blood. In an experimentally infected cow, parasites were detected by the semi nested PCR method (ethidium bromide stained agarose gel) at days 8 post-infection, 2 days earlier than microscope examination, and could not be detected 3 days after treatment of the cow with Berenil (3 mg/Kg body weight)
Babesia bovis เป็นเชื้อปาราสิตชนิดหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่ ในกระแสเลือดของสัตว์ สามารถแพร่กระจายโดยเห็บ (tick) และเนื่องจากโรคที่เกิดจากเชื้อนี้มีความรุนแรงและทำให้โคที่ อาศัยอยู่ในแหล่งที่มีการระบาดของโรคตาย มีผลกระทบต่อการ พัฒนาทางด้านปศุสัตว์ของประเทศไทย ดังนั้นการพัฒนาวิธีการ หาเชื้อเพื่อการวินิจฉัยโรคนี้จึงมีความจำเป็น เพื่อเลือกวิธี การรักษาที่เหมาะสมและเพื่อการศึกษาทางด้านระบาดวิทยา ชิ้นดีเอ็นเอของ B.bovis ขนาด 6.0 กิโลคู่เบสที่ สอดแทรกอยู่ในตัวตรวจ pMU-B1 ถูกตัดให้มีขนาดเล็กลงและ เชื่อมต่อกับดีเอ็นเอพาหะ Bluescribe M13(-) มีโคลน ลูกผสม 16 โคลนที่ให้สัญญาณจากการทำโคโลนีไฮบริไดเซชั่น กับโครโมโซมของ B.bovis จากผลที่ไดได้คัดเลือกโคลน pMU-BS7 เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ของเชื้อ B.bovis ในหลอดทดลองเนื่องจากโคลนนี้ให้ความ เข้มของสัญญาณต่อขนาดความยาวของชิ้นส่วนดีเอ็นเอสูงที่สุด ชิ้นส่วนดีเอ็นเอซึ่งมีอยู่ในตัวตรวจ pMU-BS7 มีขนาด 329 คู่เบสและมีค่า G+C content เท่ากับ 49.5% ได้มีการ ออกแบบไพรเมอร์ BV2 และ BV3 เพื่อขยายยีนของเชื้อ B.bovis ขนาด 182 คู่เบส ส่วนไพรเมอร์ BV1 และ BV2 ขยายยีนขนาด 155 คู่เบส วิธีการนี้มีความจำเพาะต่อการตรวจ หาเชื้อ B.bovis เนื่องจากไม่มีการเพิ่มจำนวนดีเอ็นเอของ Babesia bigemina, Trypanosoma evansi, Anaplasma marginale, Theileria spp. และโควิธีการตรวจสอบ โดยวิธี semi-nestedPCR สามารถตรวจหาเชื้อ B.bovis จำนวน 10 ตัวในเลือด 10 ไมโครลิตรได้และการตรวจหาเชื้อ ในโคทดลองซึ่งทำให้ติดเชื้อพบว่าสามารถตรวจหาเชื้อได้ใน วันที่ 8 หลังการติดเชื้อซึ่งเร็วกว่าการตรวจพบโดยกล้อง จุลทรรศน์และไม่สามารถตรวจพบเชื้อได้หลังจากการให้ยา เบเรนิล (3 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม) เป็นเวลา 3 วัน
Babesia bovis เป็นเชื้อปาราสิตชนิดหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่ ในกระแสเลือดของสัตว์ สามารถแพร่กระจายโดยเห็บ (tick) และเนื่องจากโรคที่เกิดจากเชื้อนี้มีความรุนแรงและทำให้โคที่ อาศัยอยู่ในแหล่งที่มีการระบาดของโรคตาย มีผลกระทบต่อการ พัฒนาทางด้านปศุสัตว์ของประเทศไทย ดังนั้นการพัฒนาวิธีการ หาเชื้อเพื่อการวินิจฉัยโรคนี้จึงมีความจำเป็น เพื่อเลือกวิธี การรักษาที่เหมาะสมและเพื่อการศึกษาทางด้านระบาดวิทยา ชิ้นดีเอ็นเอของ B.bovis ขนาด 6.0 กิโลคู่เบสที่ สอดแทรกอยู่ในตัวตรวจ pMU-B1 ถูกตัดให้มีขนาดเล็กลงและ เชื่อมต่อกับดีเอ็นเอพาหะ Bluescribe M13(-) มีโคลน ลูกผสม 16 โคลนที่ให้สัญญาณจากการทำโคโลนีไฮบริไดเซชั่น กับโครโมโซมของ B.bovis จากผลที่ไดได้คัดเลือกโคลน pMU-BS7 เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ของเชื้อ B.bovis ในหลอดทดลองเนื่องจากโคลนนี้ให้ความ เข้มของสัญญาณต่อขนาดความยาวของชิ้นส่วนดีเอ็นเอสูงที่สุด ชิ้นส่วนดีเอ็นเอซึ่งมีอยู่ในตัวตรวจ pMU-BS7 มีขนาด 329 คู่เบสและมีค่า G+C content เท่ากับ 49.5% ได้มีการ ออกแบบไพรเมอร์ BV2 และ BV3 เพื่อขยายยีนของเชื้อ B.bovis ขนาด 182 คู่เบส ส่วนไพรเมอร์ BV1 และ BV2 ขยายยีนขนาด 155 คู่เบส วิธีการนี้มีความจำเพาะต่อการตรวจ หาเชื้อ B.bovis เนื่องจากไม่มีการเพิ่มจำนวนดีเอ็นเอของ Babesia bigemina, Trypanosoma evansi, Anaplasma marginale, Theileria spp. และโควิธีการตรวจสอบ โดยวิธี semi-nestedPCR สามารถตรวจหาเชื้อ B.bovis จำนวน 10 ตัวในเลือด 10 ไมโครลิตรได้และการตรวจหาเชื้อ ในโคทดลองซึ่งทำให้ติดเชื้อพบว่าสามารถตรวจหาเชื้อได้ใน วันที่ 8 หลังการติดเชื้อซึ่งเร็วกว่าการตรวจพบโดยกล้อง จุลทรรศน์และไม่สามารถตรวจพบเชื้อได้หลังจากการให้ยา เบเรนิล (3 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม) เป็นเวลา 3 วัน
Description
Biochemistry (Mahidol University 1996)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Biochemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University