Anti-aging body experiences of women in Thai society
Issued Date
2023
Copyright Date
2014
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 201 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Patcharee Niamsri Anti-aging body experiences of women in Thai society. Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89784
Title
Anti-aging body experiences of women in Thai society
Alternative Title(s)
ประสบการณ์ร่างกายที่ต่อต้านความชราของผู้หญิงในสังคมไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of this research were to study as follows: senses of body-self according to natural aging changes with increasing age; practices of anti-aging body managements and life experiences in diversity of women in Thai society. This research was a qualitative research conducted by accessing the data through the Ethnographic Approach using the Narrative Approach Methodology with Epistemology according to the basic philosophy of Feminism in accessing the knowledge and reality through the life experiences of women. Besides, in the narrative process, the reflection of experience between the researcher as a woman and the research participants known as intersubjectivity was present. In this study, the researcher selected the sample by purposive sampling from specific areas and also by snowball technique from the researcher's social network. The research participants in the sample group were women whose attributes belonged to the set-up criteria. Research ethics to protect the rights of the participants were considered throughout the study. The results of the study demonstrated that: 1. The sense of body- self of the female body which was the subjective experience of the body, both positive and negative, included the senses of body-self as reckless, inferiority complexes and worries, changes of the blood and circulatory system, undesirable appearances, reduction in passion and sexual attractiveness, as well as the medium of happiness and good-spirits, 2.The women's anti-aging practices to manage their body could be divided into 4 groups, which were: 1) the group that concentrated on self-care practice of exercising; 2) the group that preferred the consumption of products from popular culture rather than practice (by taking vitamins and supplements); 3) the group that focused on multiple anti-aging methods (the use of medical technologies as well as the consumption of products and services from popular culture; and 4) the group that preferred non-plastic surgery medicine technology. Women's anti-aging practices reflect self discipline without the control by the government's power. Instead, it is the power of knowledge from biomedicine as well as product advertisements. Women as agencies chose to manage their bodies and found the body-management methods which were appropriate for their life contexts in order to upgrade their statuses and to live in a better society. Middle-class women with higher economic and social statuses and greater purchasing power emphasized the importance of appearance management by linking youth with health and beauty, and they usually relied on the use of medical technologies which they thought were able to provide clearer and safer results as well as to reduce obstacles which prevented them from conducting their self-care practices. As for women who concentrated on self care or product consumption (by taking vitamins and supplements), they focused on internal body management for health rather than appearance. Lower middle-class women usually managed their bodies in a way that did not cost a lot of expense and tried to find the most appropriate way to fix and prevent health problems in the future.3. As for the life experience of women from different life contexts, women's body-management to resist aging were necessary and important as an investment in the body in order to transform the self, to accumulated capital and to turn their body capital into other types of capital such as social and economic capital. This also included women's experiences with negotiation regarding the use of medical technologies, which was not able to resist aging as efficiently as self care from the inside since the latter could reflect external appearances. Policy recommendations are suggested to enhance quality of life of these middle age Thai women.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผัสสะตัวตนร่างกาย (senses of body-self) ที่มีความชราเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างธรรมชาติตามอายุวัยเพิ่มขึ้น, ปฏิบัติการ (Practices) การจัดการร่างกายในการต่อต้านความชราและประสบการณ์ชีวิตของผู้หญิงที่หลากหลายในการต่อต้านความชราในสังคมไทย การวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัยเข้าถึงข้อมูลแบบเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographic Approach) ใช้วิธีวิทยา (Methodology) การเล่าเรื่อง (Narrative approach) และ ญาณวิทยา (Epistemology) ตามปรัชญา รากฐานของแนวคิดสตรีนิยม ในการเข้าถึงความรู้ ความจริงผ่านประสบการณ์ชีวิตของผู้หญิง นอกจากนี้ในกระบวนการเล่าเรื่อง ยังมีการสะท้อนประสบการณ์ร่วมระหว่างผู้วิจัยในฐานะผู้หญิงกับผู้ร่วมวิจัย (Intersubjectivity) ในกระบวนการศึกษาวิจัยอีกด้วย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ในพื้นที่สนามและเทคนิค Snowball จากเครือข่ายทางสังคมของผู้วิจัย กลุ่มตัวอย่างในฐานะ ผู้ร่วมวิจัย (Participant) เป็น ผู้หญิงที่มีคุณลักษณะตามเกณฑ์ที่กำหนด มีการคำนึงถึงหลักจริยธรรมการวิจัยในการพิทักษ์สิทธ์ของผู้ร่วมการวิจัยตลอด กระบวนการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า 1. ผัสสะตัวตนร่างกายของผู้หญิงซึ่งเป็น ประสบการณ์อัตตะวิสัย (Subjective) ร่างกายตัวตน มีทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ผัสสะตัวตนในฐานะความประมาท ปมด้อยและความวิตกกังวล การเปลี่ยนแปลงของเลือดและระบบเลือดลม การลดลงของเสน่ห์และความดึงดูดทางเพศ และร่างทรงอารมณ์ดี 2. ปฏิบัติการจัดการร่างกายที่ผู้หญิงเน้นให้ความสำคัญกับวิธีการจัดการร่างกายต่อต้านความชราที่ทำอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ 1.) กลุ่มผู้หญิงที่เน้นเลือกการดูแลตนเองปฏิบัติตน ด้วยการออกกำลังกาย 2.) กลุ่มที่เลือกบริโภคสินค้าตามวัฒนธรรมประชานิยมมากกว่าการปฏิบัติตน (การกินอาหารเสริม) 3.) กลุ่มที่ใช้เน้นวิธีการต่อต้านความชราแบบผสมผสาน (Multiple methods) ใช้เทคโนโลยีการแพทย์และบริโภคสินค้าและบริการตามวัฒนธรรมประชานิยม (Popular culture) 4.) กลุ่มที่เน้นเลือกใช้บริการการดูแลรักษาโดยแพทย์แบบไม่ผ่าตัด (Non- Plastic Surgery Medicine) ผู้หญิงในฐานะผู้กระทำการ (agency) มีการเลือกตัดสินใจหาวิธีการจัดการร่างกายที่เหมาะสมกับบริบทชีวิตของตนเองเพื่อการไต่เต้า เลื่อนชั้นสถานภาพตัวตนในสังคมที่ดีขึ้น ผู้หญิงชนชั้นกลางที่มีฐานะเศรษฐกิจสังคมสูงกว่ามีกำลังซื้อให้ความสำคัญการจัดการภาพลักษณ์ปรากฏภายนอกโดยผูกโยงความอ่อนเยาว์เป็นเรื่องของสุขภาพและความงาม มักพึ่งพาการใช้เทคโนโลยีการแพทย์ที่เห็นว่า สามารถให้ผลลัพธ์ชัดเจนและความปลอดภัยมากกว่ารวมทั้งการละเลยหรือไม่สามารถปฏิบัติการดูแลตนเองร่างกายตนเองได้ ส่วนผู้หญิงที่เน้นการดูแลตนเองหรือการเลือกซื้อสินค้า (กินอาหารเสริม) ได้ให้ความสำคัญการจัดการร่างกายภายในเพื่อสุขภาพมากกว่าภาพลักษณ์ปรากฏภายนอก ผู้หญิงชนชั้นกลางระดับล่าง มักจัดการร่างกายโดยไม่ต้องการมีภาระค่าใช้จ่ายสูงรวมทั้งหาทางแก้ไขและการป้องกันภาระทางสุขภาพในอนาคต ปฏิบัติการการจัดการร่างกายที่ต่อต้านความชราของผู้หญิงเหล่านี้เปิดเผยให้เห็นการมีวินัยควบคุมร่างกายตนเอง (bio-power) โดยปราศจากการบังคับจากอำนาจรัฐโดยตรงแต่เป็นโครงข่ายอำนาจชุดความรู้และปฏิบัติการทั้งชีวการแพทย์และสื่อโฆษณาของผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ 3. ประสบการณ์ชีวิตผู้หญิง ผ่านเรื่องเล่าของผู้หญิงที่มีบริบทชีวิตหลากหลาย สะท้อนปฏิบัติการการจัดการร่างกายที่ต่อต้านความชราเพื่อการลงทุนร่างกาย เป็นทุนอื่น ๆ เช่นทุนวัฒนธรรม ทุนทางสังคมและทุนทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ การลงทุนร่างกายในฐานะการเปลี่ยนผ่านตัวตน การสะสมทุนและแลกเปลี่ยนทุนทางร่างกายรวมทั้งประสบการณ์ชีวิตที่ผู้หญิงในฐานะผู้กระทำการ (Agency) ที่มีการต่อรอง (Negotiation) การใช้เทคโนโลยีการแพทย์รักษาภาพลักษณ์ภายนอก ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อให้ผู้หญิงมีคุณภาพชีวิตที่ดี
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผัสสะตัวตนร่างกาย (senses of body-self) ที่มีความชราเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างธรรมชาติตามอายุวัยเพิ่มขึ้น, ปฏิบัติการ (Practices) การจัดการร่างกายในการต่อต้านความชราและประสบการณ์ชีวิตของผู้หญิงที่หลากหลายในการต่อต้านความชราในสังคมไทย การวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัยเข้าถึงข้อมูลแบบเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographic Approach) ใช้วิธีวิทยา (Methodology) การเล่าเรื่อง (Narrative approach) และ ญาณวิทยา (Epistemology) ตามปรัชญา รากฐานของแนวคิดสตรีนิยม ในการเข้าถึงความรู้ ความจริงผ่านประสบการณ์ชีวิตของผู้หญิง นอกจากนี้ในกระบวนการเล่าเรื่อง ยังมีการสะท้อนประสบการณ์ร่วมระหว่างผู้วิจัยในฐานะผู้หญิงกับผู้ร่วมวิจัย (Intersubjectivity) ในกระบวนการศึกษาวิจัยอีกด้วย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ในพื้นที่สนามและเทคนิค Snowball จากเครือข่ายทางสังคมของผู้วิจัย กลุ่มตัวอย่างในฐานะ ผู้ร่วมวิจัย (Participant) เป็น ผู้หญิงที่มีคุณลักษณะตามเกณฑ์ที่กำหนด มีการคำนึงถึงหลักจริยธรรมการวิจัยในการพิทักษ์สิทธ์ของผู้ร่วมการวิจัยตลอด กระบวนการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า 1. ผัสสะตัวตนร่างกายของผู้หญิงซึ่งเป็น ประสบการณ์อัตตะวิสัย (Subjective) ร่างกายตัวตน มีทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ผัสสะตัวตนในฐานะความประมาท ปมด้อยและความวิตกกังวล การเปลี่ยนแปลงของเลือดและระบบเลือดลม การลดลงของเสน่ห์และความดึงดูดทางเพศ และร่างทรงอารมณ์ดี 2. ปฏิบัติการจัดการร่างกายที่ผู้หญิงเน้นให้ความสำคัญกับวิธีการจัดการร่างกายต่อต้านความชราที่ทำอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ 1.) กลุ่มผู้หญิงที่เน้นเลือกการดูแลตนเองปฏิบัติตน ด้วยการออกกำลังกาย 2.) กลุ่มที่เลือกบริโภคสินค้าตามวัฒนธรรมประชานิยมมากกว่าการปฏิบัติตน (การกินอาหารเสริม) 3.) กลุ่มที่ใช้เน้นวิธีการต่อต้านความชราแบบผสมผสาน (Multiple methods) ใช้เทคโนโลยีการแพทย์และบริโภคสินค้าและบริการตามวัฒนธรรมประชานิยม (Popular culture) 4.) กลุ่มที่เน้นเลือกใช้บริการการดูแลรักษาโดยแพทย์แบบไม่ผ่าตัด (Non- Plastic Surgery Medicine) ผู้หญิงในฐานะผู้กระทำการ (agency) มีการเลือกตัดสินใจหาวิธีการจัดการร่างกายที่เหมาะสมกับบริบทชีวิตของตนเองเพื่อการไต่เต้า เลื่อนชั้นสถานภาพตัวตนในสังคมที่ดีขึ้น ผู้หญิงชนชั้นกลางที่มีฐานะเศรษฐกิจสังคมสูงกว่ามีกำลังซื้อให้ความสำคัญการจัดการภาพลักษณ์ปรากฏภายนอกโดยผูกโยงความอ่อนเยาว์เป็นเรื่องของสุขภาพและความงาม มักพึ่งพาการใช้เทคโนโลยีการแพทย์ที่เห็นว่า สามารถให้ผลลัพธ์ชัดเจนและความปลอดภัยมากกว่ารวมทั้งการละเลยหรือไม่สามารถปฏิบัติการดูแลตนเองร่างกายตนเองได้ ส่วนผู้หญิงที่เน้นการดูแลตนเองหรือการเลือกซื้อสินค้า (กินอาหารเสริม) ได้ให้ความสำคัญการจัดการร่างกายภายในเพื่อสุขภาพมากกว่าภาพลักษณ์ปรากฏภายนอก ผู้หญิงชนชั้นกลางระดับล่าง มักจัดการร่างกายโดยไม่ต้องการมีภาระค่าใช้จ่ายสูงรวมทั้งหาทางแก้ไขและการป้องกันภาระทางสุขภาพในอนาคต ปฏิบัติการการจัดการร่างกายที่ต่อต้านความชราของผู้หญิงเหล่านี้เปิดเผยให้เห็นการมีวินัยควบคุมร่างกายตนเอง (bio-power) โดยปราศจากการบังคับจากอำนาจรัฐโดยตรงแต่เป็นโครงข่ายอำนาจชุดความรู้และปฏิบัติการทั้งชีวการแพทย์และสื่อโฆษณาของผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ 3. ประสบการณ์ชีวิตผู้หญิง ผ่านเรื่องเล่าของผู้หญิงที่มีบริบทชีวิตหลากหลาย สะท้อนปฏิบัติการการจัดการร่างกายที่ต่อต้านความชราเพื่อการลงทุนร่างกาย เป็นทุนอื่น ๆ เช่นทุนวัฒนธรรม ทุนทางสังคมและทุนทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ การลงทุนร่างกายในฐานะการเปลี่ยนผ่านตัวตน การสะสมทุนและแลกเปลี่ยนทุนทางร่างกายรวมทั้งประสบการณ์ชีวิตที่ผู้หญิงในฐานะผู้กระทำการ (Agency) ที่มีการต่อรอง (Negotiation) การใช้เทคโนโลยีการแพทย์รักษาภาพลักษณ์ภายนอก ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อให้ผู้หญิงมีคุณภาพชีวิตที่ดี
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Medical and Health Social Sciences
Degree Grantor(s)
Mahidol University