Translation techniques of song lyrics in animation films for Thai versions as translated by Tanee Poonsuwan
dc.contributor.advisor | Sukhuma-Vadee Khamhiran | |
dc.contributor.advisor | Sujaritlak Deepadung | |
dc.contributor.advisor | Anan Sobrerk | |
dc.contributor.advisor | Wachiraporn Wandee | |
dc.contributor.author | Sirirat Wisedsook | |
dc.date.accessioned | 2025-04-01T03:16:12Z | |
dc.date.available | 2025-04-01T03:16:12Z | |
dc.date.copyright | 2002 | |
dc.date.created | 2025 | |
dc.date.issued | 2002 | |
dc.description | Language and Culture for Communication and Development (Mahidol University 2002) | |
dc.description.abstract | This thesis is a study of the translation techniques of song lyrics in animation films for Thai versions as translated by Tanee Poonsuwan. The purpose of this thesis is to attempt to analyze the translation techniques utilized in translating the song lyrics and seek factors that may influence the translation. This thesis employed a content analysis research methodology based on twenty-six original versions and Thai translated versions of song lyrics from four animation films, "Anastasia", "Hercules", "The Little Mermaid", and "The Prince Of Egypt." The results show that the translation techniques employed by the translator were both literal and free translation. Literal translation was utilized with song phrases which conveyed sufficient meaning or were not grammatically related to another song phrase. These song phrases were in forms of simple structure song phrases, prepositional and participial phrases, and common nouns. Personal pronouns and address terms were sometimes literally transferred. Free translation was utilized to adjust the grammatical structure of related song phrases. Some personal pronouns and address terms were deleted. Some personal pronouns were substituted by common nouns. Proper nouns were all transliterated. Most of chop words and interjections were transliterated as well. Free translation resulted from the fixed numbers of syllables in each song phrase. Three musical factors that influenced the translation were the relation of music and lyrics, rhyme, and the tone of songs. The relation of music and lyrics led to in consistency. Rhyme led to variations in final particles, addition in more details, and substitutions in repetitions. The tone of songs resulted in the use of informal forms of words, slangs, final particles, and interjections. The results of this study can be used as guidance in translating song lyrics for Thai versions in animation films | |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการศึกษาเทคนิคการแปลเนื้อเพลงประกอบภาพยนตร์การ์ตูน สำหรับพากย์ไทยซึ่งแปลโดย ธานี พูนสุวรรณ โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์หาเทคนิคการแปลเนื้อเพลงและค้นหาปัจจัยอื่นที่อาจมีผลต่อการแปล วิธีการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเนื้อหา ข้อมูลในการศึกษาคือเนื้อเพลงต้นฉบับ และเนื้อเพลงแปลภาษาไทย ยี่สิบหกเพลง จากภาพยนตร์การ์ตูน สี่เรื่อง คือ "อนาสตาเซีย" "เฮอร์คิวลิส" "เดอะ ลิตเติ้ล เมอเมด" และ "เดอะ พริ้นซ์ ออฟ อียิปต์" จากผลการศึกษาพบว่าเทคนิคการแปลที่ใช้คือ การแปลตรงตัวและการแปลแบบเอาความ การแปลแบบตรงตัวใช้กับวรรคเพลงที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง วรรคเพลงประเภทนี้มีโครงสร้างเป็นรูปประโยคความเดียวเชิงบอกเล่า คำถาม และคำสั่ง วลี และสามัญนาม การแปลแบบตรงตัวยังใช้กับคำสรรพนามและคำเรียกขานบ้าง การแปลแบบเอาความจะใช้กับวรรคเพลงที่มีโครงสร้างสัมพันธ์กับวรรคเพลงอื่นๆ เพราะมีความหมายไม่สมบูรณ์ในตัวเอง การละคำสรรพนาม และคำเรียกขาน มีการแทนที่คำสรรพนามด้วยคำสามัญนาม มีการถ่ายเสียงคำวิสามัญนามทั้งหมด คำที่ไม่มีความหมายต่างๆ (chop words) และคำแสดงความรู้สึกเป็นส่วนมากถูกถ่ายเสียง การแปลแบบเอาความนี้เกิดจากจำนวนพยางค์ที่มีจำกัดในแต่ละวรรคเพลง ปัจจัยทางดนตรีสามประการที่มีอิทธิพลต่อการแปลคือ ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี กับเนื้อร้อง การสัมผัสคล้องจอง และอารมณ์ของเพลง ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี กับเนื้อร้องนำไปสู่การแปลที่ไม่เหมือนกันตลอดทั้งเพลง การสัมผัสคล้องจองนำไปสู่ความหลากหลายของคำลงท้าย การเพิ่ม และการแทนที่ข้อความที่ซ้ำกันอารมณ์ของเพลงมีอิทธิพลต่อการใช้ภาษาที่ไม่เป็นทางการ คำแสลง คำลงท้ายต่างๆ และคำแสดง อารมณ์ ผลการศึกษาข้างต้นสามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับการแปลเนื้อเพลงสำหรับพากย์ไทยในภาพยนตร์การ์ตูน | |
dc.format.extent | viii, 325 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.A. (Language and Culture for Communication and Development))--Mahidol University, 2002 | |
dc.identifier.isbn | 9740418775 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107338 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Translations | |
dc.subject | Songs -- Translations | |
dc.subject | Animated films | |
dc.title | Translation techniques of song lyrics in animation films for Thai versions as translated by Tanee Poonsuwan | |
dc.title.alternative | เทคนิคการแปลเนื้อเพลงประกอบภาพยนต์การ์ตูนสำหรับพากย์ไทยซึ่งแปลโดยธานี พูนสุวรรณ | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/4036249.pdf | |
thesis.degree.department | Institute of Language and Culture for Rural Development | |
thesis.degree.discipline | Language and Culture for Communication and Development | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Arts |