Development of diffusive sampler and optimization of static headspace-gas chromatography for monitoring indoor air quality in the workplace
Issued Date
2009
Copyright Date
2009
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 121 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Applied Analytical and Inorganic Chemistry))--Mahidol University, 2009
Suggested Citation
Wilailak Srisuk Development of diffusive sampler and optimization of static headspace-gas chromatography for monitoring indoor air quality in the workplace. Thesis (M.Sc. (Applied Analytical and Inorganic Chemistry))--Mahidol University, 2009. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/96333
Title
Development of diffusive sampler and optimization of static headspace-gas chromatography for monitoring indoor air quality in the workplace
Alternative Title(s)
การพัฒนาชุดเก็บตัวอย่างแบบแพร่และการหาสภาวะที่เหมาะสมของเทคนิคสแตติกเฮดซเปส-แก๊สโครมาโตกราฟีสำหรับการตรวจติดตามคุณภาพอากาศภายในสถานที่ทำงาน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
ชุดเก็บตัวอย่างแบบแพร่ (MU-DS01) ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ส่วนประกอบของชุดเก็บตัวอย่างแบบ แพร่นี้ประกอบด้วยท่อกลวง 2 ท่อ ซ้อนกันโดยท่อด้านนอกทำจากท่อพีวีซียาว 10 เซนติเมตร และมีเส้นผ่าน ศูนย์กลางภายนอกยาว 2.6 เซนติเมตร ท่อพีวีซีถูกคลุมด้วยตาข่ายไนลอน ส่วนท่อกลวงด้านในซึ่งมีความยาว 8 เซนติเมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7 เซนติเมตร ทำจากตาข่ายไนลอน ภายในบรรจุด้วยถ่านกัมมันต์หนัก 1 กรัม อัตราการดูดซับของชุดเก็บตัวอย่างแบบแพร่ของ คลอโรฟอร์ม เบนซีน ไตรคลอโรเอธิลีน โทลูอีน และ ไซ ลีน เท่ากับ 72 ± 10, 67±9, 45.76 ± 9, 34 ± 7, 42 ± 6, 57 ± 7 นาโนกรัมต่อพีพีเอ็มต่อนาที ตามลำดับ เทคนิค สแตติก เฮดซเปส - แก๊ส โครมาโตกราฟี ถูกหาสภาวะที่เหมาะสม เพื่อหาปริมาณ สารอินทรีย์ระเหยง่ายในอากาศภายในอาคาร สภาวะที่เหมาะสมคือ อุณหภูมิในการสกัด 70 องศาเซลเซียส เวลาใน การสกัด 10 นาที เวลาในการอัดความดัน 0.25 นาที เวลาที่ไอของสารบรรจุภายในลูป 0.20 นาที และเวลาที่ไอ ของสารอยู่ในสภาวะสมดุลภายในลูป 0.20 นาที ขีดจำกัดการตรวจวัดของเทคนิคนี้น้อยกว่า 10 พีพีบี และร้อยละ การสกัดกลับคืนอยู่ในช่วง 78.3 ถึง 104.4 ชุดเก็บตัวอย่างแบบแพร่ MU-DS01) ถูกนำมาใช้กับเทคนิคสแตติก เฮดซเปส - แก๊สโครมาโตกราฟี สำหรับการเก็บตัวอย่างอากาศและตรวจติดตามสารอินทรีย์ระเหยง่ายภายในอาคาร จากการตรวจติดตามคุณภาพ อากาศภายในตึกเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเวลา 8 ชั่วโมงพบว่ามี ปริมาณเบนซีน ไตรคลอโรเอธิลีน และโทลูอี นอยู่ 0.350 0.434 และ 0.167 พีพีเอ็ม ตามลำดับ ข้อสรุปของการศึกษานี้คือ คุณภาพอากาศภายในสถานที่ทำงาน ภายในตึกเคมี อยู่ในสภาวะที่ดี ยกเว้นห้องถ่ายเอกสาร ซึ่งถูกแนะนำให้ปรับปรุง
Description
Applied Analytical and Inorganic Chemistry (Mahidol University 2009)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Applied Analytical and Inorganic Chemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University