The protective role of garlic oil on chloroform-induced toxicity in rats
Issued Date
2000
Copyright Date
2000
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xix, 155 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9746635964
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Pharmacology))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Panot Tangsucharit The protective role of garlic oil on chloroform-induced toxicity in rats. Thesis (M.Sc. (Pharmacology))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94529
Title
The protective role of garlic oil on chloroform-induced toxicity in rats
Alternative Title(s)
การศึกษาฤทธิ์ของน้ำมันกระเทียมในการป้องกันการเกิดพิษจากคลอโรฟอร์มในหนูขาว
Author(s)
Abstract
The aim of this investigation was to study the protective effect of garlic oil against chloroform-induced toxicity in rats. Administration of male adult SpragueDawley rats with chloroform intragastrically at the doses of 50, 100 and 200 mg/kg caused both hepatotoxic as well as nephrotoxic effects in a dose- and time-dependent manner. A significant increase in either alanine transferase (ALT) or aspartate transferase (AST) was observed at 12 h following chloroform administration. The activities of these two enzymes reached its peak within 24 h and then gradually declined at 48 and 72 h after the administration of chloroform. An increase in the dose of chloroform resulted in an elevation of ALT up to 10 folds and AST up to 3 folds. These results were supported by the findings from light microscopic studies of the liver cells which revealed centrilobular necrosis after chloroform treatment. The indicators of kidney function such as serum creatinine and blood urea nitrogen (BUN) showed the same pattern as that seen with ALT and AST but to a much lesser extent. To investigate its protective effect against chloroform-induced toxicity, garlic oil was given intragastrically to rats at the doses of 50 and 100 mg/kg at 1, 6 and 12 h before chloroform. It was found that the administration of garlic oil (100 mg/kg) at 12 h before chloroform treatment could offer only partial protection against the chlorinated hydrocarbon as seen by a decrease in AST, ALT as well as a decrease in serum creatinine. After chloroform treatment, the activity of hepatic aniline hydroxylase was significantly reduced to only 20% of the control. With the pretreatment with garlic oil, the activity of this enzyme was increased but not to the control level, because garlic oil itself could also inhibit the activity of these enzymes, presumably resulting in a decrease in the bioactivation of chloroform to a toxic metabolite. Histopathological study showed less severe hepatotoxic effect caused by chloroform after garlic oil pretreatment. It was concluded that garlic consumption might afford protection against chemicall-induced toxicity, especially if the toxic effect was mediated through the metabolite formed via cytochrome P450 2El (CYP2El).
ในน้ำมันกระเทียมมีสารสำคัญที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอยู่มากมาย จากการทคสอบพบว่าสารสำคัญเหล่า นี้มีศักยภาพในการป้องกันการเกิดพิษต่อเซลล์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของน้ำมันกระเทียมต่อ การป้องกันการเกิดพิษของคลอโรฟอร์มในหนูขาว สัตว์ทดลองจะได้รับคลอโรฟอร์มโดยการป้อนเข้าทางปากใน ขนาค 50, 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว ซึ่งเป็นขนาดที่ทำให้เกิดพิษต่อตับและไต โดยขึ้นกับปริมาณ ของสารและระยะเวลาที่สัตว์ทดลองได้รับสาร การทดลองพบว่า หลังจากที่ให้คลอโรฟอร์มระดับของเอนไซม์ ALT และ AST เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เป็นเวลา 12 ชั่วโมง และระดับของเอนไซม์ทั้ง ALT และ AST จะเพิ่มขึ้นสูงสุดที่เวลา 24 ชั่วโมง หลังจาก นั้นจะลดลงตามลำคับที่เวลา 48 ชั่วโมง จนกระทั่งลดลงสู่ระคับปกติที่เวลา 72 ชั่วโมง หลังจากที่ไว้รับ คลอโรฟอร์ม ผลจากการได้รับคลอโรฟอร์มทำให้ระคับของ ALT เพิ่มขึ้น 10 เท่า และ AST เพิ่มขึ้น 3 เท่า ที่พบการสลายของเซลล์บริเวณ การเปลี่ยนแปลงที่เห็นนี้สามารถขึ้นยันผลได้โดยการศึกษาทางพยาธิวิทยาของตับ ตัวบ่งชี้การทำงานของไต เช่น serum และ BUN ก็แสดงผลคล้ายกับ creatinine การเพิ่มระดับ ALT และ AST แต่ในระดับที่น้อยกว่า การศึกษาผลการป้องกันของน้ำมันกระเทียมต่อการเกิดพิษอันเนื่องมาจากคลอโรฟอร์ม สัตว์ทดลองได้รับน้ำ มันกระเทียม โคขวิธีการป้อนทางปาก ในขนาค 50 และ 100 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว เป็นเวลา 1, 6 และ 12 ชั่วโมง ก่อนได้รับคลอโรฟอร์ม พบว่าการให้น้ำมันกระเทียมก่อนการให้คลอโรฟอร์ม 12 ชั่วโมง สามารถป้อง กันการเกิดพิษจากคลอโรฟอร์ม โคขการลดระดับของเอนไซม์ในขนาค 100 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว ALT, AST และ serum creatinine หลังจากให้คลอโรฟอร์ม การทำงานของเย็นไซม์ aniline hydroxylase ลดลง 20 เปอร์เซ็นต์จากระดับปกติ แต่เมื่อให้น้ำมันกระเทียมก่อนให้คลอโรฟอร์ม จะทำให้ระดับการทำงานของเอ็นไซมั กลับสูงขึ้นแต่ไม่สามารถทำให้สูงเทำากับระดับปกติได้ เนื่องจากฤทธิ์ของน้ำมันกระเทียมเพียงอย่างเดียวสามารถ ขับยั้งการทำงานของเอ็นไซมนี้ได้ ซึ่งส่งผลให้เกิดการลดการเปลี่ยนแปลงคลอโรฟอร์มไปเป็นรูปที่เป็นพิษ ผลการศึกษาพยาธิวิทยาของตับพบว่าน้ำมันกระเทียมสามารถ ลดความรุนแรงของการทำลายตับอันเนื่องมาจาก คลอโรฟอร์ม สรุปได้ว่าน้ำมันกระเทียมมีฤทธิ์ในการป้องกันการเกิดพิษของสารก่อพิษต่าง ๆ ได้ โคขเฉพาะอย่าง ยิ่งสารที่ต้องอาศัยกระบวนการเปลี่ยนแปลงผ่านทาง
ในน้ำมันกระเทียมมีสารสำคัญที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอยู่มากมาย จากการทคสอบพบว่าสารสำคัญเหล่า นี้มีศักยภาพในการป้องกันการเกิดพิษต่อเซลล์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของน้ำมันกระเทียมต่อ การป้องกันการเกิดพิษของคลอโรฟอร์มในหนูขาว สัตว์ทดลองจะได้รับคลอโรฟอร์มโดยการป้อนเข้าทางปากใน ขนาค 50, 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว ซึ่งเป็นขนาดที่ทำให้เกิดพิษต่อตับและไต โดยขึ้นกับปริมาณ ของสารและระยะเวลาที่สัตว์ทดลองได้รับสาร การทดลองพบว่า หลังจากที่ให้คลอโรฟอร์มระดับของเอนไซม์ ALT และ AST เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เป็นเวลา 12 ชั่วโมง และระดับของเอนไซม์ทั้ง ALT และ AST จะเพิ่มขึ้นสูงสุดที่เวลา 24 ชั่วโมง หลังจาก นั้นจะลดลงตามลำคับที่เวลา 48 ชั่วโมง จนกระทั่งลดลงสู่ระคับปกติที่เวลา 72 ชั่วโมง หลังจากที่ไว้รับ คลอโรฟอร์ม ผลจากการได้รับคลอโรฟอร์มทำให้ระคับของ ALT เพิ่มขึ้น 10 เท่า และ AST เพิ่มขึ้น 3 เท่า ที่พบการสลายของเซลล์บริเวณ การเปลี่ยนแปลงที่เห็นนี้สามารถขึ้นยันผลได้โดยการศึกษาทางพยาธิวิทยาของตับ ตัวบ่งชี้การทำงานของไต เช่น serum และ BUN ก็แสดงผลคล้ายกับ creatinine การเพิ่มระดับ ALT และ AST แต่ในระดับที่น้อยกว่า การศึกษาผลการป้องกันของน้ำมันกระเทียมต่อการเกิดพิษอันเนื่องมาจากคลอโรฟอร์ม สัตว์ทดลองได้รับน้ำ มันกระเทียม โคขวิธีการป้อนทางปาก ในขนาค 50 และ 100 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว เป็นเวลา 1, 6 และ 12 ชั่วโมง ก่อนได้รับคลอโรฟอร์ม พบว่าการให้น้ำมันกระเทียมก่อนการให้คลอโรฟอร์ม 12 ชั่วโมง สามารถป้อง กันการเกิดพิษจากคลอโรฟอร์ม โคขการลดระดับของเอนไซม์ในขนาค 100 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว ALT, AST และ serum creatinine หลังจากให้คลอโรฟอร์ม การทำงานของเย็นไซม์ aniline hydroxylase ลดลง 20 เปอร์เซ็นต์จากระดับปกติ แต่เมื่อให้น้ำมันกระเทียมก่อนให้คลอโรฟอร์ม จะทำให้ระดับการทำงานของเอ็นไซมั กลับสูงขึ้นแต่ไม่สามารถทำให้สูงเทำากับระดับปกติได้ เนื่องจากฤทธิ์ของน้ำมันกระเทียมเพียงอย่างเดียวสามารถ ขับยั้งการทำงานของเอ็นไซมนี้ได้ ซึ่งส่งผลให้เกิดการลดการเปลี่ยนแปลงคลอโรฟอร์มไปเป็นรูปที่เป็นพิษ ผลการศึกษาพยาธิวิทยาของตับพบว่าน้ำมันกระเทียมสามารถ ลดความรุนแรงของการทำลายตับอันเนื่องมาจาก คลอโรฟอร์ม สรุปได้ว่าน้ำมันกระเทียมมีฤทธิ์ในการป้องกันการเกิดพิษของสารก่อพิษต่าง ๆ ได้ โคขเฉพาะอย่าง ยิ่งสารที่ต้องอาศัยกระบวนการเปลี่ยนแปลงผ่านทาง
Description
Pharmacology (Mahidol University 2000)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Pharmacology
Degree Grantor(s)
Mahidol University