การประเมินผลการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5
dc.contributor.advisor | ศิริรัตน์ ชุณหคล้าย | |
dc.contributor.advisor | โชคชัย สุทธาเวศ | |
dc.contributor.author | สกล สถิตย์พงษ์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-09T01:06:08Z | |
dc.date.available | 2024-01-09T01:06:08Z | |
dc.date.copyright | 2562 | |
dc.date.created | 2562 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description | นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2562) | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ (1) เพื่อประเมินผลการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสำเร็จของโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนที่เป็นสมาชิกในโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของหมู่บ้านคลองน้ำเค็ม จำนวน 124 คน และชุมชนวัดนายโรง จำนวน 190 คน รวมเป็น 314 คน และมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ข้าราชการผู้ ผู้นำชุมชน และพระภิกษุที่ดำเนินกิจกรรมในโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 จำนวน 6 คน สาหรับเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนบ้านคลองน้ำเค็มมีผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุดชุมชนวัดนายโรงมีผลการประเมินโครงการอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทั้ง 2 ชุมชนมีผลการประเมินเหมือนกันคือ ด้านบริบทพบว่าโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 มีความจำเป็นต่อชุมชนในปัจจุบันด้านปัจจัยนำเข้าพบว่าวิทยากร พระผู้นำกิจกรรมมีความรู้ มีความสามารถในนำขับเคลื่อนโครงการ ด้านกระบวนการพบว่าวัดและพระภิกษุสงฆ์ มีส่วนช่วยขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของชุมชนให้มีความเข็มแข็ง และด้านผลผลิตพบว่าโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ส่งเสริมให้นำหลักธรรมมาใช้ในชีวิตแล้วเกิดความสุขมากขึ้น และในส่วนของปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสำเร็จมากที่สุดต่อการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 คือ ปัจจัยด้านกระบวนการ | |
dc.description.abstract | The main purposes of this research were :1) to evaluate mobilization of the project of five precept village and 2) to study the factors that affect the success of the project of five precept village. Both qualitative and quantitative methods were employed, using CIPP Model as a framework. Quantitative data were collected using constructed questionnaires from the 314 selected samples including project members of Khlong Nam Khem Village and Wat Nai Rong Community. Qualitative data were collected using interviews with 6 key informants including officers, local community leaders and monks involvingin mobilizing the project of five precept village.Data were analyzed using descriptive statistics, multiple regression analysis, and content analysis. The research results showed that Ban Klong Nam Kem community had the highest level of project assessment, and the community of Wat Nai Rong had a high level of project assessment. When considering each aspect, it is found that both communities had the same assessment results as follows.1) The project of five precept village was essential to the current community. 2) For the input factor, it was found that the lecturer and the monk who led the activity had the knowledge and ability to lead the project. 3) Regarding the process, it wasfound that temples and monks contributed to driving the project of five precept village of the community to be strong. 4) For the production aspect, it was found that the project of five precept village encouraged the use of the principles in life and created more happiness. Factors affecting successful results of the project of five precept village the most were the process factors. | |
dc.format.extent | ก-ญ, 132 แผ่น : ภาพประกอบ | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ))--มหาวิทยาลัยมหิดล 2562 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92018 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 | |
dc.subject | การประเมินโครงการ | |
dc.title | การประเมินผลการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 | |
dc.title.alternative | The evaluation of mobilizing the project of five-precept village | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/548/6038352.pdf | |
thesis.degree.department | คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ | |
thesis.degree.discipline | นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต |