Cost-effectiveness analysis of rehabilitation service for stroke patients in Pranangklao Hospital fiscal year 2011-2012
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 101 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Hospital Administration))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Varothorn Charoensuk Cost-effectiveness analysis of rehabilitation service for stroke patients in Pranangklao Hospital fiscal year 2011-2012. Thesis (M.Sc. (Hospital Administration))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95164
Title
Cost-effectiveness analysis of rehabilitation service for stroke patients in Pranangklao Hospital fiscal year 2011-2012
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ปีงบประมาณ 2554-2555
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purpose of this study was to analyze the cost-effectiveness of Rehabilitation Services for ischemic stroke patients at the Stroke Corner of Pranangklao hospital under the Universal Health Coverage (UHC) during the fiscal year 2011-2012. This research was aimed to study the perspectives of both the provider and the patients regarding cost. The effectiveness was measured by Barthel index assessment (disabled level) of stroke patient. All subjects were recruited to the study from 1 June 2011 to 30 November 2011, and follow ups were performed 6 month after discharge, up until 31 May 2012. Fifty ischemic stroke patients were recruited to participate in this study, 25 patients were assigned equally to a Home-based rehabilitation group and Outpatient rehabilitation group. The results of the study showed that OPD rehabilitation group was more costeffectiveness than HB group. The CEA of OPD group was 51,286.72 Baht with a lower disability level, whereas CEA of HB group was 66,936.01 Baht with a lower disability level. Even though, the average Barthel index score at initial assessment of OPD group showed a higher disability. This study provides positive evidence that the higher cost resulted from a greater number of patients involved in rehabilitation was essential in lowering disability levels and should be considered worthwhile regarding patient care cost for the hospital and for patients. The Stroke Corner procedures followed by Outpatient rehabilitation offers the best results in terms of effectiveness at an additional cost to both the hospital and patients
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองประเภทตีบหรืออุดตันที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้าในปีงบประมาณ 2554-2555 โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการที่ใช้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า และประเมินประสิทธิผลการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยด้วยแบบประเมินระดับความสามารถ ในการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน บาร์เทล อินเด็กซ์ ติดตามอาการและประเมินผลการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ป่วยภายหลังออกจากโรงพยาบาลเป็นระยะเวลา 6 เดือน โดยเปรียบเทียบต้นทุนต่อ ประสิทธิผลของผู้ป่วยทั้งหมด 50 ราย แบ่งออกเป็นกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอก 25 ราย และกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้าน 25 ราย ผลการวิจัยพบว่าการฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอกมีต้นทุนต่อประสิทธิผลดีกว่า กลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้าน โดยต้นทุนต่อประสิทธิผลของกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วย นอกและกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้านเท่ากับ 51,286.72 บาท และ 66,936.01 บาทต่อความ พิการที่ลดลง 1 ระดับบาร์เทล อินเด็กซ์ตามลำดับ แม้ว่ากลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอกจะมี ระดับความพิการรุนแรงมากกว่าในช่วงก่อนฟื้นฟูสมรรถภาพ จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าต้นทุน ที่สูงขึ้นของกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอกคุ้มค่าต่อการลดระดับความพิการของผู้ป่วยหลอด เลือดสมองเมื่อเปรีบยเทียบกับกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้านที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองประเภทตีบหรืออุดตันที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้าในปีงบประมาณ 2554-2555 โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการที่ใช้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า และประเมินประสิทธิผลการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยด้วยแบบประเมินระดับความสามารถ ในการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน บาร์เทล อินเด็กซ์ ติดตามอาการและประเมินผลการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ป่วยภายหลังออกจากโรงพยาบาลเป็นระยะเวลา 6 เดือน โดยเปรียบเทียบต้นทุนต่อ ประสิทธิผลของผู้ป่วยทั้งหมด 50 ราย แบ่งออกเป็นกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอก 25 ราย และกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้าน 25 ราย ผลการวิจัยพบว่าการฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอกมีต้นทุนต่อประสิทธิผลดีกว่า กลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้าน โดยต้นทุนต่อประสิทธิผลของกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วย นอกและกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้านเท่ากับ 51,286.72 บาท และ 66,936.01 บาทต่อความ พิการที่ลดลง 1 ระดับบาร์เทล อินเด็กซ์ตามลำดับ แม้ว่ากลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอกจะมี ระดับความพิการรุนแรงมากกว่าในช่วงก่อนฟื้นฟูสมรรถภาพ จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าต้นทุน ที่สูงขึ้นของกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยนอกคุ้มค่าต่อการลดระดับความพิการของผู้ป่วยหลอด เลือดสมองเมื่อเปรีบยเทียบกับกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพแบบเยี่ยมบ้านที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
Description
Hospital Administration (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Hospital Administration
Degree Grantor(s)
Mahidol University