Occupational radiation doses to personnel from [18]F-FDG PET/CT procedures for tumor imaging in Ramathibodi Hospital
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 62 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Medical Physics))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Tinnagorn Donmoon Occupational radiation doses to personnel from [18]F-FDG PET/CT procedures for tumor imaging in Ramathibodi Hospital. Thesis (M.Sc. (Medical Physics))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93300
Title
Occupational radiation doses to personnel from [18]F-FDG PET/CT procedures for tumor imaging in Ramathibodi Hospital
Alternative Title(s)
การศึกษาปริมาณรังสีที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับจากการตรวจ [18]F-FDG PET/CT สำหรับโรคมะเร็งในโรงพยาบาลรามาธิบดี
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The increasing numbers of 18F-FDG PET/CT studies in routine clinical practice may pose risk of higher radiation exposure to medical staff. The aim of this study is to estimate the whole-body and finger radiation doses per study received by nuclear medicine staff involved in dispensing, administration of 18F-FDG and interacting with radioactive patients during PET/CT imaging procedures in a PET/CT facility. The whole-body doses received by radiopharmacists (n=2), technologists (n=9), and nurses (n=2) were measured by electronic dosimeter and the finger doses by ring dosimeter during a period of 4 months. Time spent with 18F-FDG was recorded. In 70 PET/CT studies, the mean effective whole-body dose per study to radiopharmacists, technologists, and nurses were 1.07±0.09, 1.77±0.46, μSv, and was not detectable respectively. The mean finger doses per study received by radiopharmacists, technologists, and nurses were 265.65±107.55, 4.84±1.08 and 19.22±2.59 μSv, respectively. The average time in contact with 18F-FDG was 5.88±0.03, 39.06±1.89 and 1.21±0.02 minutes per study for radiopharmacists, technologists and nurses respectively. Technologists received the highest mean effective whole-body dose per study and radiopharmacists received the highest finger dose per study. When compared with the ICRP dose limit, each individual worker can work with many more 18F-FDG PET/CT studies for a whole year without exceeding the occupational dose limits. This study confirmed that low levels of radiation doses are received by our medical personnel involved in 18F-FDG PET/CT procedures.
การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมินปริมาณรังสีที่นักเภสัชรังสี นักรังสีการแพทย์ และ พยาบาลของหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับจากการตรวจ 18F-FDG PET/CT สำหรับโรคมะเร็งในผู้ป่วยจำนวน 70 ราย โดยศึกษาปริมาณรังสีทั่วร่างกายด้วยเครื่องวัด รังสีประจำตัวบุคคลยี่ห้อ ALOKA รุ่น PDM-112 และปริมาณรังสีที่มือด้วยแผ่นวัดรังสีโอ เอส แอล รุ่น Nano Dot พบว่าปริมาณรังสีทั่วร่างกายที่นักเภสัชรังสี นักรังสีการแพทย์ และพยาบาลได้รับต่อ ผู้ป่วย 1 รายมีค่าเท่ากับ 1.07±0.09, 1.77±0.46 μSv และไม่สามารถวัดได้ ตามลำดับ ค่าปริมาณรังสี ที่มือต่อผู้ป่วย 1 รายมีค่าเท่ากับ 265.65±107.55, 4.84±1.08 และ 19.22±2.59 μSv ตามลำดับ โดยใช้ เวลาในการปฏิบัติงานกับผู้ป่วยแต่ละรายเท่ากับ 5.88±0.03, 39.06±1.89 และ 1.21±0.02 นาที ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่านักรังสีการแพทย์ได้รับปริมาณรังสีทั่วร่างกายสูงสุดและนักเภสัชรังสี ได้รับปริมาณรังสีที่มือสูงสุด เมื่อนำผลปริมาณรังสีไปคำนวณเปรียบเทียบกับค่าที่กำหนดโดย องค์กรสากล International Commission on Radiological Protection โดยประมาณค่าว่าผู้ปฏิบัติงาน แต่ละรายปฏิบัติงานตลอดทั้งปีกับผู้ป่วย พบว่าค่าปริมาณรังสีมีค่าไม่เกินค่าที่กำหนด ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าผู้ปฏิบัติงานสามารถทำงานได้อย่างปลอดภัยไม่เกินค่ามาตรฐานความปลอดภัยที่ผู้ปฏิบัติงาน ทางรังสีควรได้รับ
การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมินปริมาณรังสีที่นักเภสัชรังสี นักรังสีการแพทย์ และ พยาบาลของหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับจากการตรวจ 18F-FDG PET/CT สำหรับโรคมะเร็งในผู้ป่วยจำนวน 70 ราย โดยศึกษาปริมาณรังสีทั่วร่างกายด้วยเครื่องวัด รังสีประจำตัวบุคคลยี่ห้อ ALOKA รุ่น PDM-112 และปริมาณรังสีที่มือด้วยแผ่นวัดรังสีโอ เอส แอล รุ่น Nano Dot พบว่าปริมาณรังสีทั่วร่างกายที่นักเภสัชรังสี นักรังสีการแพทย์ และพยาบาลได้รับต่อ ผู้ป่วย 1 รายมีค่าเท่ากับ 1.07±0.09, 1.77±0.46 μSv และไม่สามารถวัดได้ ตามลำดับ ค่าปริมาณรังสี ที่มือต่อผู้ป่วย 1 รายมีค่าเท่ากับ 265.65±107.55, 4.84±1.08 และ 19.22±2.59 μSv ตามลำดับ โดยใช้ เวลาในการปฏิบัติงานกับผู้ป่วยแต่ละรายเท่ากับ 5.88±0.03, 39.06±1.89 และ 1.21±0.02 นาที ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่านักรังสีการแพทย์ได้รับปริมาณรังสีทั่วร่างกายสูงสุดและนักเภสัชรังสี ได้รับปริมาณรังสีที่มือสูงสุด เมื่อนำผลปริมาณรังสีไปคำนวณเปรียบเทียบกับค่าที่กำหนดโดย องค์กรสากล International Commission on Radiological Protection โดยประมาณค่าว่าผู้ปฏิบัติงาน แต่ละรายปฏิบัติงานตลอดทั้งปีกับผู้ป่วย พบว่าค่าปริมาณรังสีมีค่าไม่เกินค่าที่กำหนด ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าผู้ปฏิบัติงานสามารถทำงานได้อย่างปลอดภัยไม่เกินค่ามาตรฐานความปลอดภัยที่ผู้ปฏิบัติงาน ทางรังสีควรได้รับ
Description
Medical Physics (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Medical Physics
Degree Grantor(s)
Mahidol University