The potential of geological conservation site study of Tako Pid Thong (abandoned mine) in Ratchaburi province for geotourism
dc.contributor.advisor | Parkorn Suwanich | |
dc.contributor.advisor | Saranya Sucharitakul | |
dc.contributor.advisor | Jaruwan Wongthanate | |
dc.contributor.author | Orapin Rujiranupong | |
dc.date.accessioned | 2024-01-11T01:39:01Z | |
dc.date.available | 2024-01-11T01:39:01Z | |
dc.date.copyright | 2018 | |
dc.date.created | 2018 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Technology of Environmental Management (Mahidol University 2018) | |
dc.description.abstract | This mixed-method research studied the geotourism potential of Tako Pid Thong as a geological conservation site, the tourists' opinions on the interest and development patterns, and to find guidelines of developing and managing it as a sustainable geotourism site. The instruments used consisted of 1) Assessing the potential of geotourism for both academic value and the potential for development and management, using geotourism potential assessment form. 2) Surveying the tourists' opinions on the interest and development patterns of geotourism in Tako Pid Thong mine, using questionnaires, and 3) an In-depth interview with stakeholders on the guidelines for the development and management of the mine. The result of the assessment indicated that the site had high potential for academic value but moderate potential for development and management. The result of the surveys on tourists' interests in geotourism at the mine indicated that tourists were highly interested in visiting and the guidelines for development and management as a sustainable geotourism site should be started with community participation, the local authorities in the area, and the needs of tourists be considered. More facilities are required to be built within the tourist attraction, any activities to be harmonious with nature and have the least negative impact on the environment. A pattern for the development could be divided into 3 zones: indoor exhibition, outcrop study area and other activity zones. A souvenir shop should promote products from the community in order to support the local economy. However, awareness should be raised for the local residents and those neighboring areas to understand the importance of geological resources which would in turn lead to sustainable development | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพการเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรณีวิทยาของแหล่งอันควรอนุรักษ์ทางธรณีวิทยา เหมืองตะโกปิดทอง ศึกษาความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวในด้านความสนใจและรูปแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเหมืองตะโกปิดทอง และหาแนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการเหมืองตะโกปิดทองให้ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยาที่ยั่งยืน โดยทาการวิจัยแบบผสมผสานทั้งการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ (1) ประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา (เหมืองตะโกปิดทอง) ซึ่งประกอบด้วยการประเมินในด้านคุณค่าทางวิชาการ และด้านศักยภาพในการพัฒนาและบริหารจัดการ (2) สอบถามความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวในด้านความสนใจและรูปแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเหมืองตะโกปิดทอง โดยใช้แบบสอบถาม (3) สัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการเหมืองตะโกปิดทอง ผลการศึกษาพบว่า การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยาของเหมืองตะโกปิดทอง ด้านคุณค่าทางวิชาการ พบว่ามีคุณค่าทางวิชาการในระดับสูง ส่วนด้านศักยภาพในการพัฒนา พบว่ามีศักยภาพในการพัฒนาในระดับปานกลาง ผลการสารวจความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวในด้านความสนใจท่องเที่ยวเหมืองตะโกปิดทอง พบว่านักท่องเที่ยวมีความสนใจเที่ยวชมอยู่ในระดับมาก แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการเหมืองตะโกปิดทองควรเริ่มจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น รวมทั้งคานึงถึงความต้องการของนักท่องเที่ยวการพัฒนาสิ่งปลูกสร้างและกิจกรรมต่างๆ ภายในแหล่งท่องเที่ยวควรมีความกลมกลืนกับธรรมชาติ และก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รูปแบบในการพัฒนาควรจัดแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 โซน ได้แก่ การจัดแสดงภายในอาคาร พื้นที่ศึกษาการเกิดแร่กลางแจ้ง และโซนกิจกรรมอื่น ๆ ร้านขายของที่ระลึกควรส่งเสริมผลิตภัณฑ์จากชุมชนเพื่อเป็นการสนับสนุนเศรษฐกิจท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม ควรสร้างความตระหนักให้กับประชาชนที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงเหมืองตะโกปิดทอง ให้ทราบถึงความสาคัญของแหล่งธรณีวิทยา เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน และนาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน | |
dc.format.extent | x, 106 leaves : ill. (some col.) | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2018 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92323 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Geotourism | |
dc.subject | Nature conservation -- Social aspects | |
dc.subject | Sustainable tourism -- Thailand -- Ratchaburi | |
dc.title | The potential of geological conservation site study of Tako Pid Thong (abandoned mine) in Ratchaburi province for geotourism | |
dc.title.alternative | การศึกษาศักยภาพแหล่งอันควรอนุรักษ์ทางธรณีวิทยาเหมืองตะโกปิดทอง (เหมืองร้าง) จังหวัดราชบุรีเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd534/5736332.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Environment and Resource Studies | |
thesis.degree.discipline | Technology of Environmental Management | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |