A comparative study of the introduction sections of research articles in the fields of cell biology and laboratory animal
Issued Date
2017
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 200 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Applied Linguistics))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Siriwimon Noksub A comparative study of the introduction sections of research articles in the fields of cell biology and laboratory animal. Thesis (M.A. (Applied Linguistics))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92358
Title
A comparative study of the introduction sections of research articles in the fields of cell biology and laboratory animal
Alternative Title(s)
การศึกษาเปรียบเทียบอัตถภาคของบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาและสัตว์ทดลอง
Author(s)
Abstract
The purposes of this study were: 1) to investigate the move frequencies and sequences in introduction sections of cell biology research article, 2) to investigate the move frequencies and sequences in introduction sections of laboratory animal research article, 3) to examine the language use in terms of sentence types, tenses, and voices in introduction sections of cell biology research article, 4) to examine the language use in terms of sentence types, tenses, and voices in introduction sections of laboratory animal research article, 5) to compare and contrast the move frequencies and sequences between introduction sections of cell biology and laboratory animal research articles, and 6) to compare and contrast the language use in terms of sentence types, tenses, and voices between introduction sections of cell biology and laboratory animal research articles. The framework used in this study was CARs model (Swales, 2004). This study covered 30 introduction sections of cell biology and 30 introduction sections of laboratory animal research articles collected from two reputable journals: Nature Reviews Molecular Cell Biology, and Transboundary and Emerging Diseases for laboratory animal during 2013-2016 by random sampling method. The entire collection of 60 introduction sections were depended on the value of impact factor, quartile, and Beall's list in Journal Citation Reports. There were three steps of collecting data of move: 1) move investigation, 2) the inter-rater reliability measurement by using Fleiss' kappa statistics, and 3) comparison of two fields of research article introduction section. The findings indicated that there were eight move-steps in cell biology introduction sections, and 11 move-steps in laboratory animal introduction sections which indicated that the highest frequency of move-step occurrence was a topic generalization (M1S1). The move sequences were found in five move patterns in cell biology introduction sections and four move patterns in laboratory animal introduction sections which revealed that both fields consisted of a topic generalization (M1S1) in every sequence of their pattern, and the study also presented that it was almost entire of introduction sections followed three main moves of CARs model (Swales, 2004) though some steps such as an adding to what is known (M2S1B), a definitional clarification (M3S3), and an outline (M3S7) were missing. Finally, there were three issues of the highest frequency of language use: simple sentence, present simple tense, and active voice occurred in both introduction sections of cell biology and laboratory animal research articles.
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์ความถี่ และการเรียงลำดับของอัตถภาคในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ 2) เพื่อวิเคราะห์ความถี่ และการเรียงลำดับของอัตถภาคในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลอง 3) เพื่อวิเคราะห์การใช้ภาษาในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ 4) เพื่อวิเคราะห์การใช้ ภาษาในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลอง 5) เพื่อเปรียบเทียบความถี่ และการเรียงลำดับของอัตถภาคในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และสัตว์ทดลอง 6) เพื่อเปรียบเทียบการใช้ภาษาในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และสัตว์ทดลอง การศึกษาในครั้งนี้ใช้แบบการวิเคราะห์อัตถภาคของสเวลส์ ปี 2004 ซึ่งประกอบไปด้วย 3 อัตถภาคหลัก และ 11 อนุวัจน์ย่อย การศึกษาในครั้งนี้ใช้แบบการวิเคราะห์อัตถภาคของสเวลส์ปี 2004 ซึ่งประกอบไปด้วย 3 อัตถภาคหลัก และ 11 อนุวัจน์ย่อย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ จำนวน 60 บท แบ่งออกเป็นบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์จำนวน 30 บท และ บทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลอง จำนวน 30 บท ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) จากวารสาร 2 ฉบับ คือ Nature Reviews Molecular Cell Bilogy และ Transboundary and Emerging Diseases ซึ่งมีการตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 2013-2016 โดยวารสารดังกล่าวผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้านค่าความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสาร (impact factor) ค่าการจัดลำดับของบทความในแต่ละสาขา (quartile) และ การไม่มีการตีพิมพ์ หรือปรากฏในวารสารที่แสวงหากำไรมากกว่าประโยชน์ทางวิชาการ (Beall's list of predatory publishers) ผลการวิจัยพบว่า ปรากฏ 8 อัตถภาคพร้อมด้วยอนุวัจน์ ในบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และ 11 อัตถภาคพร้อมด้วยอนุวัจน์ ในบทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลองซึ่งทั้งสองสาขาพบว่า นัยยะทั่วไปเกี่ยวกับหัวข้อมีความถี่สูงสุด ส่วนการเรียงลำดับของอัตถภาค ปรากฏ 5 รูปแบบของการเรียงลำดับของอัตถภาคในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และ 4 รูปแบบของการเรียงลำดับของอัตถภาคในสาขาสัตว์ทดลอง ซึ่งทุกการเรียงลำดับของแต่ละรูปแบบพบว่า นัยยะทั่วไปเกี่ยวกับหัวข้อปรากฏเป็นอัตถภาคแรก และยังพบว่าส่วนมากการเรียงลำดับของอัตถภาคในบทนำของบทความวิจัยทั้งสองสาขามีความสอดคล้องกับแบบการวิเคราะห์อัตถภาคของสเวลส์ ปี 2004 และสุดท้ายภาษาที่มีการนำมาใช้มากที่สุดคือ ประโยคความเดียว (simple sentence) ปัจจุบันกาลธรรมดา (present simple tense) และกรรตุวาจก (active voice)
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์ความถี่ และการเรียงลำดับของอัตถภาคในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ 2) เพื่อวิเคราะห์ความถี่ และการเรียงลำดับของอัตถภาคในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลอง 3) เพื่อวิเคราะห์การใช้ภาษาในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ 4) เพื่อวิเคราะห์การใช้ ภาษาในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลอง 5) เพื่อเปรียบเทียบความถี่ และการเรียงลำดับของอัตถภาคในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และสัตว์ทดลอง 6) เพื่อเปรียบเทียบการใช้ภาษาในการเขียนบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และสัตว์ทดลอง การศึกษาในครั้งนี้ใช้แบบการวิเคราะห์อัตถภาคของสเวลส์ ปี 2004 ซึ่งประกอบไปด้วย 3 อัตถภาคหลัก และ 11 อนุวัจน์ย่อย การศึกษาในครั้งนี้ใช้แบบการวิเคราะห์อัตถภาคของสเวลส์ปี 2004 ซึ่งประกอบไปด้วย 3 อัตถภาคหลัก และ 11 อนุวัจน์ย่อย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ จำนวน 60 บท แบ่งออกเป็นบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์จำนวน 30 บท และ บทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลอง จำนวน 30 บท ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) จากวารสาร 2 ฉบับ คือ Nature Reviews Molecular Cell Bilogy และ Transboundary and Emerging Diseases ซึ่งมีการตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 2013-2016 โดยวารสารดังกล่าวผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้านค่าความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสาร (impact factor) ค่าการจัดลำดับของบทความในแต่ละสาขา (quartile) และ การไม่มีการตีพิมพ์ หรือปรากฏในวารสารที่แสวงหากำไรมากกว่าประโยชน์ทางวิชาการ (Beall's list of predatory publishers) ผลการวิจัยพบว่า ปรากฏ 8 อัตถภาคพร้อมด้วยอนุวัจน์ ในบทนำของบทความวิจัยในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และ 11 อัตถภาคพร้อมด้วยอนุวัจน์ ในบทนำของบทความวิจัยในสาขาสัตว์ทดลองซึ่งทั้งสองสาขาพบว่า นัยยะทั่วไปเกี่ยวกับหัวข้อมีความถี่สูงสุด ส่วนการเรียงลำดับของอัตถภาค ปรากฏ 5 รูปแบบของการเรียงลำดับของอัตถภาคในสาขาชีววิทยาของเซลล์ และ 4 รูปแบบของการเรียงลำดับของอัตถภาคในสาขาสัตว์ทดลอง ซึ่งทุกการเรียงลำดับของแต่ละรูปแบบพบว่า นัยยะทั่วไปเกี่ยวกับหัวข้อปรากฏเป็นอัตถภาคแรก และยังพบว่าส่วนมากการเรียงลำดับของอัตถภาคในบทนำของบทความวิจัยทั้งสองสาขามีความสอดคล้องกับแบบการวิเคราะห์อัตถภาคของสเวลส์ ปี 2004 และสุดท้ายภาษาที่มีการนำมาใช้มากที่สุดคือ ประโยคความเดียว (simple sentence) ปัจจุบันกาลธรรมดา (present simple tense) และกรรตุวาจก (active voice)
Description
Applied Linguistics (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Liberal Arts
Degree Discipline
Applied Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University