Chemistry of radicals derived from the fragmentation of cyclobutane ring

dc.contributor.advisorVichai Reutrakul
dc.contributor.advisorManat Pohmakotr
dc.contributor.advisorPatoomratana Tuchinda
dc.contributor.authorAnusorn Vorasingha
dc.date.accessioned2024-09-04T03:11:38Z
dc.date.available2024-09-04T03:11:38Z
dc.date.copyright1996
dc.date.created1996
dc.date.issued2024
dc.descriptionOrganic Chemistry (Mahidol University 1996)
dc.description.abstractIt was found that the cyclobutyl carbinyl radical A could be generated by the reaction as shown in scheme I. (Organic Chemistry Formula) The reaction of 1-(1-bromo-1-phenylsulfonylmethyl)cyclobutanol with n-tribu tyltinhydride (n-Bu(,3)SnH) and a,(...)-azoisobutylronitrile (AIBN) in refluxing dry benzene gave the radical A, which fragmented to the acyclic radical B and then trapped by electrophile to give the adduct C. The 1-(1-chloro-1-phenylsulfonylmethyl)cyclobutanol gave 49% yield of the fragmented adduct D, 1-(1-bromo-1-phenylsulfonylmethyl)cyclobutanol gave a higher yield of fragmented adduct D than the former (55% yield), and 1-(1-iodo-1phenylsulfonylmethyl)cyclobutanol gave an unidentified product. (Organic Chemistry Formula) The sequence of reactions provided a novel method for the generation of a d(5) radical species. 1-(1-chloro-1-phenylsulfonylmethyl)cyclobutanol, 1-(1-bromo-1-phenylsul fonylmethyl)cyclobutanol and 1-(1-iodo-1-phenylsulfonylmethyl)cyclobutanol were synthesized in high yield by the reaction of the corresponding lithiohalomethylphenyl sulfone with cyclobutanone as shown in equation II. Equation I
dc.description.abstractจุดมุ่งหมายในการทำวิจัยนี้ เพื่อศึกษาคุณสมบัติของ สารมัธยันต์พวกไซโคลบิวธิลคาร์ไบนิลแรดิคอล ที่สามารถจะ เตรียมได้โดยดังแสดงในแผนภาพที่ 1 (รูปสูตรเคมี) ปฏิกิริยาของสาร 1-(1-โบรโม-1-ฟินิลซัลโฟนิลเมธิล) ไซโคลบิวทานอล ภายใต้สภาวะการให้ความร้อนร่วมกับสารละลาย เบนซินที่ปราศจากน้ำ โดยทำปฏิกิริยาร่วมกับสารไตรบิวธิลทิน ไฮไดรด์ (n-Bu(,3)SnH) และสารแอลฟ่า, แอลฟ่าแด่ด- เอโซไอโซบิวธิลโลไนไตรด์ (AIBN) จะให้สารมัธยันต์พวก ไซโคลบิวธิลคาร์ไบนิลแรดิคอล ซึ่งต่อมาก็จะเกิดการแตกของ วงแหวนให้สารมัธยันต์พวก บิวธิลคาร์ไบนิลแรดิคอลแบบโซ่ตรง สามารถมาทำปฏิกิริยากับสารอิเล็คโตรไฟล์ พวกสารประกอบ ไม่อิ่มตัว แอลฟา, เบต้า ซึ่งการทดลองของเราแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือกลุ่มไซยาโน, กลุ่มเอสเทอร์และกลุ่มคีโตน ดังแสดงในแผนภาพที่ 1 ที่ผ่านมา ส่วนอนุพันธ์ของสารพวกคลอโร จะแตกตัวให้สารผลิตภัณฑ์ D (ดูในสมการที่ 1) ในปริมาณ 49% yield ซึ่งเป็นปริมาณที่ น้อยกว่าการแตกตัวของอนุพันธ์ของสารพวกโบรโม (55% yield) ส่วนอนุพันธ์ของสารพวกไอโอโดไม่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ (รูปสูตรเคมี) การศึกษาปฏิกิริยาแอนไอออนของ ลิธิโอฮาโรเมธิลฟินิล ซัลโฟนกับสารพวกคีโตนชนิดวงแหวนซึ่งมีจำนวนคาร์บอนเป็น 4 ตัว จะให้สารประกอบอนุพันธ์ของแอลกอฮอล์ชนิดวงแหวนของสารพวก ฮาโรเมธิลฟินิลซัลโฟนในปริมาณที่สูง เมื่อแอนไอออนของฮาโรเมธิล ฟินิลซัลโฟนเหล่านี้ ทำปฏิกิริยากับไซโคลบิวทาโนนจะเกิดปฏิกิริยา ให้ผลิตภัณฑ์การรวมตัวแบบ 1, 2 ดังแสดงในสมการที่ 2
dc.format.extentv, 104 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Organic Chemistry))--Mahidol University, 1996
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100851
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectCyclobutanes
dc.subjectRadicals (Chemistry)
dc.subjectRing formation (Chemistry)
dc.titleChemistry of radicals derived from the fragmentation of cyclobutane ring
dc.title.alternativeปฏิกิริยาของแรดิคอลที่มาจากสารวงแหวนที่มีจำนวนคาร์บอนสี่ตัว
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/10416420.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplineOrganic Chemistry
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files