รูปแบบการจัดทำการปฏิบัติที่เป็นเลิศของ MUSIS ของศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
dc.contributor.author | ศลิษา ธาระสวัสดิ์ | |
dc.contributor.author | วิมลทิพย์ วัตรผลัด | |
dc.contributor.author | มาลี เที่ยงตรง | |
dc.contributor.author | เบญจวรรณ สุดประเสริฐ | |
dc.contributor.author | กรชนก วงษ์คำ | |
dc.contributor.author | สุภัสสร อมรปิยะฤกศ์ | |
dc.date.accessioned | 2024-02-29T08:07:32Z | |
dc.date.available | 2024-02-29T08:07:32Z | |
dc.date.created | 2024-02-23 | |
dc.date.issued | 2019 | |
dc.description | การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 7 เรื่อง “ชีวิตกับการเรียนรู้ในฐานะโรงเรียนแพทย์ (Life and Learning on the Premises of Medical School)” ณ ห้องประชุมอเนกประสงค์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 5 เมษายน 2562. หน้า 32-45 | |
dc.description.abstract | แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด คือ องค์ประกอบหนึ่งของการจัดการความรู้ ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ ความรู้นั้นในกระบวนการสู่การปฏิบัติจริง แลวสรุปความรู้ และประสบการณนั้นเป็นแนวปฏิบัติที่ดี ที่สุดขององค์กร หรือมีความชัดเจนในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใหผู้อื่นสามารถนําไปใช้ได้ วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษารูปแบบการปฏิบัติที่ดีที่สุดจากหน่วยสนับสนุนในโรงพยาบาล วิธีการศึกษา : กลุ่มตัวอยางเป็นตัวแทนของทุกหน่วยงานผู้ใช้ระบบ MUSIS ที่มีประสบการณ์ อย่างน้อย 1 เดือนในศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มีจํานวน 19 คน และจํานวน 1 คน จากโรงพยาบาลทันตกรรมมหาจักรีสิริน ธร (ศาลายา) โดยดําเนินการเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 เป็นการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็น ประโยชน์ข้อดี และข้อเสียของการใช้ MUSIS แบ่งปันการพัฒนาระบบจากชุมชนผู้ปฏิบัติงาน (CoP ชุมชนนักปฏิบัติ) เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด ระยะที่ 2 เป็นการสังเกตผู้ใช้งาน เกี่ยวกับเวลา และขั้นตอนการทํางาน เช่น ระยะเวลาเฉลี่ยของการลาออนไลน์ การจองห้องประชุม อัตราความผิดพลาดการบันทึก เป็นต้น จากนั้นจะสัมภาษณ์ โดยมีประเด็นข้อคําถาม 3 คําถาม ได้แก่ 1) ความพึงพอใจต่อการใช้แนวทาง 2) ปัญหาอุปสรรคใด ๆ และ 3) คําแนะนําอื่น ๆ ผลการศึกษา : พบว่า แนวทางปฏิบัติงานมีความสอดคล้้อง 98 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในแง่ ของเวลาอัตราความผิดพลาดความคุมทุน และความพึงพอใจในระดับที่ดีที่สุด วิธีนี้ถือได้ว่าเป็น แนวปฏิบัติที่ดีที่สุดเนื่องจากเป็นผลมาจากการแบ่งป็นความรู้ของสมาชิกของชุมชนนักปฏิบัติที่ สามารถนําไปใช้จริงในการทํางานประจําวันของตนเองได้จริง เป็นความรู้ที่ได้รับจากองค์กรที่ได้ จากการสังเคราะห์โดยชุมชนนักปฏิบัติ | |
dc.description.abstract | Background : The best practice is one component of knowledge management, which is the application of that knowledge in the process to the real practice and summarizes it and experience as the best practice of the organization or being self- clear in different ways so that others can apply. Objective : To study a model of the best practice derivation from the supporting units in a hospital. Method : The sample was representatives of all departments. Users of the MUSIS system having at least 1 month of experience in the unit at Golden Jubilee Medical Center, Faculty of Medicine Siriraj Hospital Mahidol University, were 19 people and 1 from Maha Chakri Sirindhorn Dental Hospital ( Salaya) This design was descriptive which was conducted in two phases: phase 1 was the data collection of opinions, benefits, advantages and disadvantages of using the MUSIS, sharing on the development of the system from the community of practitioners ( CoP, community of practice) to derive the best practice. Phase 2 was to observe the users on timing and work flow such as average duration of online leave, meeting room booking, error rate, saving, etc. Then they were asked 3 questions: 1) satisfaction with using guidelines, 2) any problem and obstacle and 3) other suggestions. Results : It was found that the operational guidelines had 98 percent compliance, effective in terms of time, error rate, cost-effectiveness and satisfaction on the best level. This approach could be considered a best practice, for it was the result from the knowledge sharing of the members of the community that could actually be implemented in their daily work. It was the knowledge gain of the organization derived from the synthesis by CoP. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/97392 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | การปฏิบัติที่เป็นเลิศ | |
dc.subject | ชุมชนนักปฏิบัติ | |
dc.subject | ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ | |
dc.subject | Best practice | |
dc.subject | Community of practice | |
dc.subject | Electronic document | |
dc.title | รูปแบบการจัดทำการปฏิบัติที่เป็นเลิศของ MUSIS ของศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก | |
dc.title.alternative | A model of best practice of MUSIS , Golden Jubilee Medical Center | |
dc.type | Proceeding Article | |
dcterms.accessRights | Open access | |
oaire.citation.endPage | 45 | |
oaire.citation.startPage | 32 | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก | |
oairecerif.event.country | ไทย | |
oairecerif.event.name | การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ประจำปี 2562 ครั้งที่7 | |
oairecerif.event.place | ห้องประชุมอเนกประสงค์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย |