Pressure pain threshold and tolerance and psychomotor speed at rest in Thai boxers
Issued Date
2024
Copyright Date
1995
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 100 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Physiology))--Mahidol University, 1995
Suggested Citation
Metta Mulsup Pressure pain threshold and tolerance and psychomotor speed at rest in Thai boxers. Thesis (M.Sc. (Physiology))--Mahidol University, 1995. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99264
Title
Pressure pain threshold and tolerance and psychomotor speed at rest in Thai boxers
Alternative Title(s)
ค่าแรงกดที่เริ่มรู้สึกเจ็บปวดและทนได้กับความเร็วไซโคมอเตอร์ขณะพักในนักมวยไทย
Author(s)
Abstract
The present study was undertaken in twenty professional Thai boxers (TB) in comparison to age and a physical fitness matched group of fifteen badminton players (BM) and with a control group-of twenty non-athletes (NA). Pressure pain threshold (PPT) and pressure pain tolerance (PPTo) were evaluated at six different body regions, namely, the abdomen, upper trapezius, deltoid, wrist, ankle and the mid tibia of the left and right sides. Then, the pain sensitivity range (PSR) was calculated from the difference between the values of tolerance and threshold. Prior to the experimental induced pain, personal history, anthropometry, hand grip and leg strength, as well as reaction time (RT) were measured in each subject. It was found that both TB and BM were significantly faster in auditory and tactile RT when compared with NA. Moreover, TB was also significantly faster in visual RT than BM and NA. The TB (the athletes of combative sports) had significantly greater in all pain parameters (PPT, PPTo, and PSR) than the BM over the mid tibia and than the NA over the abdomen and mid tibia. Although, TB possessed significantly greater PPTo over the trapezius than that of NA, there was no significant difference in PPT at this site. The BM possessed significantly greater in all pain parameters than the NA only over abdomen. There were no significant differences in the PPT and PPTo between the same points on either side of the body in each subject group. In addition, most sites on the body of TB did not show significant relationship between the PPT and PPTo, while those sites of the NA and BM showed positive correlations. Moreover, there were no significant correlations between the PPT, PPTo over all sites and the percentage of body fat and between the PPT, PPTo at the abdomen and the skinfold thickness at suprailliac sites. However, there were significant correlations (in TB group) between the PPT over the abdomen, the PPT over the mid tibia, and the PPTo over the ankle and the number of fights (r = 0.53, 0.52 and 0.47, respectively) and between the PPT over the abdomen and the length of boxing (yr) (r = 0.52). There was no clear sign of impairment of the central nor peripheral pathway involved as indicated by normal reaction time and neurological examination. It is suggested that the influences of both aerobic training along with the exposure of repeated pain stimuli as in case of TB may cause adaptation in the pain sensory system and result in greater PPT and PPTo than aerobic training alone (BM) and no exercise (NA).
ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการทดสอบความเร็ว ไซโคมอเตอร์ (ความเร็วในการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ) และทำการวัดค่าแรงกดที่เริ่มรู้สึกเจ็บ (Pressure pain threshold, PPT) ค่าแรงกดที่รู้สึกทนปวดได้ (Pressure pain tolerance, PPTo) และค่าผลต่าง ของแรงกดทั้งสอง (Pain sensitivity range, PSR) โดยใช้แรงกด (กก.) กระตุ้นที่จุดทดสอบ 6 แห่งบนร่างกาย ได้แก่ บริเวณกล้ามเนื้อหน้าท้อง ทราเพเชียส เดลตอย และ บริเวณข้อมือ ข้อเท้า และหน้าแข้งทั้งซ้ายและขวาในนักมวยไทย จำนวน 20 คน เปรียบเทียบกับนักกีฬากลุ่มที่ไม่มีการปะทะ คือนักแบดมินตัน จำนวน 15 คน และกลุ่มควบคุมที่ไม่มีการ ฝึกซ็อมหรือออกกำลังกายเป็นประจำในช่วงอายุเดียวกัน จำนวน 20 คน จากผลการทดสอบพบว่า 1) กลุ่มนักมวยไทยมี ความเร็วในการตอบสนองต่อการมองเห็นแสงเร็วกว่ากลุ่ม นักแบดมินตันและกลุ่มควบคุม ส่วนความเร็วในการตอบสนอง ต่อเสียงและสัมผัสของทั้งกลุ่มนักมวยไทยและนักแบดมินตัน นั้นเร็วกว่ากลุ่มควบคุม 2) ไม่มีความแตกต่างระหว่างค่า PPT และ PPTo ของข้างซ้ายและข้างขวาในผู้ถูกทดสอบ ทั้ง 3 กลุ่ม 3) กลุ่มนักมวยไทยมีค่า PPT, PPTo และ PSR สูงกว่ากลุ่มควบคุมบริเวณหน้าท้องและหน้าแข้ง แต่สูงกว่า กลุ่มนักแบดมินตันเฉพาะบริเวณหน้าท้อง 4) กลุ่มนักมวยไทย มีค่า PPTo สูงกว่ากลุ่มควบคุมบริเวณกล้ามเนื้อทราเพเชียส โดยที่ไม่มีความแตกต่างของค่า PPT ที่จุดทดสอบนี้ 5) จำนวนครั้งของการแข่งขันชกมวยมความสัมพันธ์กับค่า PPT บริเวณหน้าท้อง (r=0.53) และหน้าแข้ง (r=0.52) และมีความสัมพันธ์กับค่า PPTo บริเวณข้อเท้า (r=0.47) 6) ระยะเวลา (ปี) ของการเป็นนักมวย (ที่มีการฝึกซ้อม และแข่งขัน) มีความสัมพันธ์กับค่า PPT บริเวณหน้าท้อง (r=0.52) 7) ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างค่า PPT และ PPTo ของทุกจุดทดสอบกับ %ไขมันในร่างกาย และระหว่างค่า PPT และ PPTo บริเวณหน้าท้องกับความหนาของชั้นไขมัน บริเวณใกล้เคียง (suprailliac site) 8) การฝึกซ้อม และต่อสู้ในการแข่งข้นของนักมวยไทยซึ่งต้องเผชิญกับแรง ปะทะที่รุนแรงอยู่เสมอ อาจส่งผบให้เกิดการปรับตัวในการ รับรู้ต่อความเจ็บปวดจึงทำให้ความรู้สึกที่เริ่มเจ็บ (PPT) และความอดทนต่อความเจ็บปวด (PPTo) บริเวณหน้าแข้ง กล้ามเนื้อหน้าท้อง และกล้ามเนื้อทราเพเชียสของนักมวยไทย สูงกว่ากลุ่มนักแบดมินตัน (นักกีฬาที่ไม่มีการปะทะ) และกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ฝึกซ้อมกีฬาหรือออกกำลังกาย
ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการทดสอบความเร็ว ไซโคมอเตอร์ (ความเร็วในการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ) และทำการวัดค่าแรงกดที่เริ่มรู้สึกเจ็บ (Pressure pain threshold, PPT) ค่าแรงกดที่รู้สึกทนปวดได้ (Pressure pain tolerance, PPTo) และค่าผลต่าง ของแรงกดทั้งสอง (Pain sensitivity range, PSR) โดยใช้แรงกด (กก.) กระตุ้นที่จุดทดสอบ 6 แห่งบนร่างกาย ได้แก่ บริเวณกล้ามเนื้อหน้าท้อง ทราเพเชียส เดลตอย และ บริเวณข้อมือ ข้อเท้า และหน้าแข้งทั้งซ้ายและขวาในนักมวยไทย จำนวน 20 คน เปรียบเทียบกับนักกีฬากลุ่มที่ไม่มีการปะทะ คือนักแบดมินตัน จำนวน 15 คน และกลุ่มควบคุมที่ไม่มีการ ฝึกซ็อมหรือออกกำลังกายเป็นประจำในช่วงอายุเดียวกัน จำนวน 20 คน จากผลการทดสอบพบว่า 1) กลุ่มนักมวยไทยมี ความเร็วในการตอบสนองต่อการมองเห็นแสงเร็วกว่ากลุ่ม นักแบดมินตันและกลุ่มควบคุม ส่วนความเร็วในการตอบสนอง ต่อเสียงและสัมผัสของทั้งกลุ่มนักมวยไทยและนักแบดมินตัน นั้นเร็วกว่ากลุ่มควบคุม 2) ไม่มีความแตกต่างระหว่างค่า PPT และ PPTo ของข้างซ้ายและข้างขวาในผู้ถูกทดสอบ ทั้ง 3 กลุ่ม 3) กลุ่มนักมวยไทยมีค่า PPT, PPTo และ PSR สูงกว่ากลุ่มควบคุมบริเวณหน้าท้องและหน้าแข้ง แต่สูงกว่า กลุ่มนักแบดมินตันเฉพาะบริเวณหน้าท้อง 4) กลุ่มนักมวยไทย มีค่า PPTo สูงกว่ากลุ่มควบคุมบริเวณกล้ามเนื้อทราเพเชียส โดยที่ไม่มีความแตกต่างของค่า PPT ที่จุดทดสอบนี้ 5) จำนวนครั้งของการแข่งขันชกมวยมความสัมพันธ์กับค่า PPT บริเวณหน้าท้อง (r=0.53) และหน้าแข้ง (r=0.52) และมีความสัมพันธ์กับค่า PPTo บริเวณข้อเท้า (r=0.47) 6) ระยะเวลา (ปี) ของการเป็นนักมวย (ที่มีการฝึกซ้อม และแข่งขัน) มีความสัมพันธ์กับค่า PPT บริเวณหน้าท้อง (r=0.52) 7) ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างค่า PPT และ PPTo ของทุกจุดทดสอบกับ %ไขมันในร่างกาย และระหว่างค่า PPT และ PPTo บริเวณหน้าท้องกับความหนาของชั้นไขมัน บริเวณใกล้เคียง (suprailliac site) 8) การฝึกซ้อม และต่อสู้ในการแข่งข้นของนักมวยไทยซึ่งต้องเผชิญกับแรง ปะทะที่รุนแรงอยู่เสมอ อาจส่งผบให้เกิดการปรับตัวในการ รับรู้ต่อความเจ็บปวดจึงทำให้ความรู้สึกที่เริ่มเจ็บ (PPT) และความอดทนต่อความเจ็บปวด (PPTo) บริเวณหน้าแข้ง กล้ามเนื้อหน้าท้อง และกล้ามเนื้อทราเพเชียสของนักมวยไทย สูงกว่ากลุ่มนักแบดมินตัน (นักกีฬาที่ไม่มีการปะทะ) และกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ฝึกซ้อมกีฬาหรือออกกำลังกาย
Description
Physiology (Mahidol University 1995)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Physiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University