A business intelligence system for tracing and analyzing healthcare performance measurement base on the KPIs from the Ministry of Public Health of Thailand from 2013
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix ,52 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Paiboon Udomkaewkanchana A business intelligence system for tracing and analyzing healthcare performance measurement base on the KPIs from the Ministry of Public Health of Thailand from 2013. Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94039
Title
A business intelligence system for tracing and analyzing healthcare performance measurement base on the KPIs from the Ministry of Public Health of Thailand from 2013
Alternative Title(s)
ระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อติดตามและวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของหน่วยงานสาธารณสุข อ้างอิงตามตัวชี้วัดปี พ.ศ. 2556 ของกระทรวงสาธารณะสุข
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This thematic paper presents a business intelligence system for tracking and analyzing healthcare performance measurement based on the KPIs (key performance indicators) of the Ministry of Public Health of Thailand from 2013. Forty-three data source files from Metta Pracharak Hospital (Wat Rai Khing) and details of the 66 KPIs from the fiscal year 2013 of the Ministry of Public Health were used to design and generate reports regarding the KPIs. Forty-three data source files were used in reference to only 24 KPIs. The other KPIs need data source files from other organizations such as the National Cancer Institute, Provincial Public Health Office, Department of Disease Control, etc. The forty-three data source files from Metta Pracharak Hospital (Wat Rai Khing) could not be used in reference to the other KPIs because it is a hospital that specializes in eye treatment, so they do not have any data for other illnesses. To create reports, it is necessary to have example data, but the available data imported into this system was incomplete and did not encompass all of the KPIs. The 43 files still lack accuracy of data, data integrity and traceability. In the future, the forty-three data source files need to be updated for data collection and data transmission from the health center to the Provincial Public Health continuing on to the Ministry of Public Health. This will help to provide even more accurate information and will be beneficial to the health system in the future.
สารนิพนธ์นี้นำเสนอ การนำระบบธุรกิจอัจฉริยะมาใช้กับข้อมูล 43 แฟ้ม เพื่อติดตามและวิเคราะห์ผลการดาเนินงานของหน่วยงานสาธารณสุข โดยอ้างอิงตัวชี้วัด ปี พ.ศ. 2556 ของกระทรวงสาธารณสุข โดยนำข้อมูลตัวอย่าง 43 แฟ้ม จากโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) มาและข้อมูลตัวชี้วัด ปี พ.ศ. 2556 ของกระทรวงสาธารณสุข 66 ข้อ มาใช้ในการออกแบบและสร้างรายงานเพื่อตอบคำถามตามตัวชี้วัด พบว่า ข้อมูล 43 แฟ้ม นำมาเป็นข้อมูลเพื่อใช้ตอบคำถามตัวชี้วัดกระทรวงฯ ได้เพียง 24 ข้อ ส่วนที่เหลือต้องใช้ข้อมูลจากหน่วยงานอื่นๆเช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, กรมควบคุมโรค และอื่นๆ เมื่อตรวจสอบข้อมูลตัวอย่าง 43 แฟ้ม ที่ได้รับมาพบว่า ไม่สามารถใช้ตอบคำถามตัวชี้วัดได้ เนื่องจาก โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคที่เกี่ยวกับตา จึงไม่มีข้อมูลของโรค หรือการเจ็บป่วยอื่นๆ มากนัก ทั้งนี้การทำรายงานในระบบธุรกิจอัจฉริยะ จำเป็นต้องสร้างข้อมูลตัวอย่าง เพื่อใช้เป็นข้อมูลต้นทางในการสร้างรายงาน และเมื่อนำข้อมูลจริงเข้ามาในระบบ จะทำให้รายงานสามารถตอบตัวชี้วัดของกระทรวงฯ ได้ ทั้งนี้ข้อมูล 43 แฟ้ม ยังคงมีจุดอ่อนในเรื่องความถูกต้องของข้อมูล, ความสมบูรณ์ของข้อมูล และการตรวจสอบย้อนกลับ ในอนาคตจำเป็นต้องมีการพิจารณาปรับปรุงการเก็บข้อมูล รวมไปถึงการส่งข้อมูลจากศูนย์บริการสุขภาพไปยังหน่วยงานระดับจังหวัดและต่อไปยังกระทรวงสาธาณสุข เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น, สามารถตรวจสอบได้ และจะเป็นประโยชน์กับระบบสุขภาพของประเทศไทยในอนาคต
สารนิพนธ์นี้นำเสนอ การนำระบบธุรกิจอัจฉริยะมาใช้กับข้อมูล 43 แฟ้ม เพื่อติดตามและวิเคราะห์ผลการดาเนินงานของหน่วยงานสาธารณสุข โดยอ้างอิงตัวชี้วัด ปี พ.ศ. 2556 ของกระทรวงสาธารณสุข โดยนำข้อมูลตัวอย่าง 43 แฟ้ม จากโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) มาและข้อมูลตัวชี้วัด ปี พ.ศ. 2556 ของกระทรวงสาธารณสุข 66 ข้อ มาใช้ในการออกแบบและสร้างรายงานเพื่อตอบคำถามตามตัวชี้วัด พบว่า ข้อมูล 43 แฟ้ม นำมาเป็นข้อมูลเพื่อใช้ตอบคำถามตัวชี้วัดกระทรวงฯ ได้เพียง 24 ข้อ ส่วนที่เหลือต้องใช้ข้อมูลจากหน่วยงานอื่นๆเช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, กรมควบคุมโรค และอื่นๆ เมื่อตรวจสอบข้อมูลตัวอย่าง 43 แฟ้ม ที่ได้รับมาพบว่า ไม่สามารถใช้ตอบคำถามตัวชี้วัดได้ เนื่องจาก โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคที่เกี่ยวกับตา จึงไม่มีข้อมูลของโรค หรือการเจ็บป่วยอื่นๆ มากนัก ทั้งนี้การทำรายงานในระบบธุรกิจอัจฉริยะ จำเป็นต้องสร้างข้อมูลตัวอย่าง เพื่อใช้เป็นข้อมูลต้นทางในการสร้างรายงาน และเมื่อนำข้อมูลจริงเข้ามาในระบบ จะทำให้รายงานสามารถตอบตัวชี้วัดของกระทรวงฯ ได้ ทั้งนี้ข้อมูล 43 แฟ้ม ยังคงมีจุดอ่อนในเรื่องความถูกต้องของข้อมูล, ความสมบูรณ์ของข้อมูล และการตรวจสอบย้อนกลับ ในอนาคตจำเป็นต้องมีการพิจารณาปรับปรุงการเก็บข้อมูล รวมไปถึงการส่งข้อมูลจากศูนย์บริการสุขภาพไปยังหน่วยงานระดับจังหวัดและต่อไปยังกระทรวงสาธาณสุข เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น, สามารถตรวจสอบได้ และจะเป็นประโยชน์กับระบบสุขภาพของประเทศไทยในอนาคต
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University