Gender, headship and asset holding : a study of households in contemporary Thailand
dc.contributor.advisor | Chai Podhisita | |
dc.contributor.advisor | Guest, Philip | |
dc.contributor.advisor | Supeeporn Punpuing | |
dc.contributor.advisor | Pungpond Rukumnuaykit | |
dc.contributor.author | Malee Sunpuwan | |
dc.date.accessioned | 2023-09-06T01:58:51Z | |
dc.date.available | 2023-09-06T01:58:51Z | |
dc.date.copyright | 2009 | |
dc.date.created | 2009 | |
dc.date.issued | 2023 | |
dc.description.abstract | การศึกษาที่ผ่านมาโดยทั่วไปมักได้ข้อสรุปว่าครัวเรือนที่มีผู้ชายเป็นหัวหน้าครัวเรือนมี สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมดีกว่าครัวเรือนที่มีผู้หญิงเป็นหัวหน้าครัวเรือน อย่างไรก็ตามมีการศึกษา บางส่วนที่สรุปว่าครัวเรือนที่มีหัวหน้าเป็นผู้หญิงนั้นดีกว่า ดังนั้นข้อสรุปที่มีอยู่จึงยังไม่ชัดเจน ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพิสูจน์ว่าข้อสรุปแบบไหนจะเป็นจริงในสังคมของประเทศกำลังพัฒนา อย่างเช่นประเทศไทย ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษานี้มาจากโครงการสำรวจฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของ ครัวเรือนของสำนักงานสถิติแห่งชาติระหว่างปี 2531-2547 ซึ่งทำการสำรวจทุกๆ 2 ปี และข้อมูลระยะยาว จากโครงการเฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี ระหว่างปี 2543-2547 การสร้างดัชนีสินทรัพย์ได้ใช้วิธี Dichotomous Hierarchical Ordered Probit (DiHOPIT) และในการค้นหาปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการถือครอง สินทรัพย์ของครัวเรือนในช่วงระยะเวลาที่ศึกษา ได้วิเคราะห์โดยใช้สถิติการการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าผลที่ได้จากการศึกษานี้สนัสนุนข้อค้นพบก่อนหน้านี้เพียงบางส่วนที่ พบว่าสถานทางเศรษฐกิจของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนมีคู่สมรสนั้นดีกว่าครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือน ไม่มีคู่สมรส อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาการถือครองสินทรัพย์แล้วพบว่าครัวเรือนที่มีหัวหน้าครัวเรือนเป็น หญิงและไม่มีคู่สมรสนั้นดีกว่าครัวเรือนที่มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นชายและไม่มีคู่สมรส ซึ่งข้อค้นพบอันหลัง นี้ไม่สอดคล้องกับข้อค้นพบที่มีมาก่อนหน้านี้ จากข้อค้นพบของการศึกษานี้ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าการจัดทำ โครงการที่เกี่ยวข้องกับความยากจนนั้นควรให้ความสำคัญกับครัวเรือนที่มีหัวหน้าครัวเรือนไม่มีคู่สมรส | |
dc.format.extent | xii, 154 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (Ph.D. (Demography))--Mahidol University, 2009 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89410 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Gender identity -- Thailand -- Social conditions | |
dc.subject | Household surveys -- Thailand | |
dc.subject | Property -- Thailand | |
dc.title | Gender, headship and asset holding : a study of households in contemporary Thailand | |
dc.title.alternative | เพศ หัวหน้าครัวเรือน และการถือครองสินทรัพย์ : การศึกษาครัวเรือนร่วมสมัยในประเทศไทย | |
dcterms.accessRights | restricted access | |
mu.link.internalLink | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2553/cd447.1/4738640.pdf | |
thesis.degree.department | Institute for Population and Social Research | |
thesis.degree.discipline | Demography | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Doctoral Degree | |
thesis.degree.name | Doctor of Philosophy |