Geo-informatics application for environmental health management in tourist of Khao Yai National Park
Issued Date
2011
Copyright Date
2011
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 99 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2011
Suggested Citation
Navavit Ponganan Geo-informatics application for environmental health management in tourist of Khao Yai National Park. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2011. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94957
Title
Geo-informatics application for environmental health management in tourist of Khao Yai National Park
Alternative Title(s)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่โดยใช้ภาษา PHP และ MySQL และจา แนกพื้นที่ในการสร้างสถานีขนถ่ายขยะภายในพื้นที่อุทยานโดยใช้การวิเคราะห์ศักยภาพเชิงพื้นที่ (PSA) ซึ่งมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 7 ปัจจัย ได้แก่ 1) ระยะห่างจากแหล่งน้า ถาวร, 2) รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน, 3) ชั้นหินฐาน, 4) ระยะห่างจากชุมชน, 5) ระยะห่างจากแหล่งท่องเที่ยว 6) ระยะห่างจากถนนหลัก และ 7) ความลาดชัน โดยมีผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมินค่าน้า หนัก (Weighting Score) และคะแนนช่วงชั้น (Rating Score) ของแต่ละปัจจัย และแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ระดับ โดยใช้ค่าเฉลี่ย (X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ผลการวิจัยพบว่าระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีประสิทธิภาพในการใช้ติดตามสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น สามารถช่วยสนับสนุนการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม และจากการจา แนกพื้นที่ที่เหมาะสมในการสร้างสถานีขน ถ่ายขยะพบว่าพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากเท่ากับ 234.407 ตารางกิโลเมตร (10.9%) เหมาะสมปานกลางเท่ากับ 1816.477 ตารางกิโลเมตร (84.44%) และเหมาะสมต่า เท่ากับ 100.169 ตารางกิโลเมตร (4.66%)
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2011)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University