Brand strategy for professional footballers in Thailand
Issued Date
2018
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 225 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Sports Management))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Satjawat Jarueksil Brand strategy for professional footballers in Thailand. Thesis (Ph.D. (Sports Management))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92227
Title
Brand strategy for professional footballers in Thailand
Alternative Title(s)
กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This is a mixed methods research with both Quantitative and Qualitative research techniques. Research objectives are 1. To identify the factors to build a brand for professional footballers in Thailand. 2. To study about the process of building a brand for professional footballers in Thailand and 3. To present brand strategy of building a brand for professional footballers in Thailand. The quantitative research used a questionnaire survey and the qualitative research used in-depth interview to study the important factors for brand building strategy for professional footballers in Thailand. Delphi technique is used to study about the process of brand building for professional footballers in Thailand and focus group to gain the brand strategy for professional footballers in the context of Thailand. From the research analysis, it can be summarized into 4 strategies as follow: 1) Strategy to build identity 2) Strategy to build image 3) Strategy to communicate the brand 4) Strategy to maintain the identity in a sustainable fashion. Research recommendations are as follows. 1) Building a footballer brand should start from an athlete being an academy trained athlete playing for a club or be in the team of National Youth Games. 2) The Person who builds the football brand should have expertise in Sport Marketing, Individual brand creation and communication, personality and image development, law and business network in a wider scale. 3) To be successful in building a brand, there should be cooperation among football clubs, footballers and sport marketers. 4) To build a brand for footballers, the marketer must search for footballer's identity such as body, facial, personality, manner, mind including outstanding capabilities of footballers to know their strength and 5) To build an athlete brand, only the true identity of the footballers should be presented.
การวิจัยเรื่อง "กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย" เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods research) ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) วัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษากระบวนการในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย และ 3)เพื่อนำเสนอกลยุทธ์ในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย ผู้วิจัยเก็บข้อมูลโดยการเก็บแบบสอบถาม (Questionnaire) และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept interview) ในการหาองค์ประกอบในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย พร้อมทั้งเทคนิคเดลฟาย (Delphi technic) ในการศึกษากระบวนการการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย และทำการจัดการสนทนากลุ่ม (Focus group) เพื่อให้ได้กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพที่มีความเหมาะสมกับบริบทในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยมี 4 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) กลยุทธ์การสร้างตัวตนนักกีฬา 2) กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์นักกีฬา 3) กลยุทธ์การสื่อสารแบรนด์นักกีฬา และ 4) กลยุทธ์การรักษาความเป็นตัวตนนักกีฬาอย่างยั่งยืน ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลควรเริ่มจากการสร้างตั้งแต่นักกีฬา เข้ามาเป็นนักกีฬาของอะคาเดมี่ของสโมสรฟุตบอลหรือช่วงของการเป็นนักกีฬาระดับเยาวชน 2) ผู้ที่จะเป็นคนสร้างแบรนด์ให้นักกีฬาฟุตบอลได้นั้นจะต้องมีความรู้ ได้แก่ การตลาดกีฬา การสร้างและสื่อสารแบ รนด์บุคคล ความรู้ด้านพัฒนาบุคลิกภาพและภาพลักษณ์นักกีฬากฎหมาย และมีเครือข่ายทางธุรกิจ 3) การ สร้างแบรนด์นักกีฬาให้ประสบความสำเร็จจะต้องเกิดจากการร่วมมือกันระหว่าง สโมสร นักกีฬา และ นักการตลาดกีฬา 4) การสร้างแบรนด์ให้กับนักกีฬานั้นนักการตลาดจะต้องค้นหาตัวตนที่แท้จริงของ นักกีฬาให้ได้ เช่น การสังเกตรูปร่าง หน้าตา บุคลิกภาพ กิริยา มารยาท จิตใจ รวมถึงศักยภาพเฉพาะด้านที่ โดดเด่นทางการกีฬา ของนักกีฬาเพื่อให้ทราบถึงจุดเด่นของนักกีฬาคนนั้น และ 5) การสร้างแบรนด์ นักกีฬา นักการตลลาดจะต้องนำเสนอความเป็นตัวตนที่แท้จริงของนักกีฬาเท่านั้น
การวิจัยเรื่อง "กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย" เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods research) ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) วัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษากระบวนการในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย และ 3)เพื่อนำเสนอกลยุทธ์ในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย ผู้วิจัยเก็บข้อมูลโดยการเก็บแบบสอบถาม (Questionnaire) และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept interview) ในการหาองค์ประกอบในการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย พร้อมทั้งเทคนิคเดลฟาย (Delphi technic) ในการศึกษากระบวนการการสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย และทำการจัดการสนทนากลุ่ม (Focus group) เพื่อให้ได้กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพที่มีความเหมาะสมกับบริบทในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยมี 4 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) กลยุทธ์การสร้างตัวตนนักกีฬา 2) กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์นักกีฬา 3) กลยุทธ์การสื่อสารแบรนด์นักกีฬา และ 4) กลยุทธ์การรักษาความเป็นตัวตนนักกีฬาอย่างยั่งยืน ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) การสร้างแบรนด์นักกีฬาฟุตบอลควรเริ่มจากการสร้างตั้งแต่นักกีฬา เข้ามาเป็นนักกีฬาของอะคาเดมี่ของสโมสรฟุตบอลหรือช่วงของการเป็นนักกีฬาระดับเยาวชน 2) ผู้ที่จะเป็นคนสร้างแบรนด์ให้นักกีฬาฟุตบอลได้นั้นจะต้องมีความรู้ ได้แก่ การตลาดกีฬา การสร้างและสื่อสารแบ รนด์บุคคล ความรู้ด้านพัฒนาบุคลิกภาพและภาพลักษณ์นักกีฬากฎหมาย และมีเครือข่ายทางธุรกิจ 3) การ สร้างแบรนด์นักกีฬาให้ประสบความสำเร็จจะต้องเกิดจากการร่วมมือกันระหว่าง สโมสร นักกีฬา และ นักการตลาดกีฬา 4) การสร้างแบรนด์ให้กับนักกีฬานั้นนักการตลาดจะต้องค้นหาตัวตนที่แท้จริงของ นักกีฬาให้ได้ เช่น การสังเกตรูปร่าง หน้าตา บุคลิกภาพ กิริยา มารยาท จิตใจ รวมถึงศักยภาพเฉพาะด้านที่ โดดเด่นทางการกีฬา ของนักกีฬาเพื่อให้ทราบถึงจุดเด่นของนักกีฬาคนนั้น และ 5) การสร้างแบรนด์ นักกีฬา นักการตลลาดจะต้องนำเสนอความเป็นตัวตนที่แท้จริงของนักกีฬาเท่านั้น
Description
Sports Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Sports Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University