An alalysis of Paul Chambers' improvisation and pedagogical solo bass exercises based on his style
Issued Date
2017
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 100 leaves : ill
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Graduate Recital Documents (M.A. (Music))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Phoowich Tawasinchanacech An alalysis of Paul Chambers' improvisation and pedagogical solo bass exercises based on his style. Graduate Recital Documents (M.A. (Music))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92361
Title
An alalysis of Paul Chambers' improvisation and pedagogical solo bass exercises based on his style
Alternative Title(s)
บทวิเคราะห์ลักษณะการบรรเลงคีตปฏิภาณและแบบฝึกหัดการฝึกซ้อมเบสในแนวทางของ พอล แชมเบอร์
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Paul Chambers (1935-1969) has been regarded as the first bassist who incorporated the jazz be-bop melodic concept to expand the possibility of double bass soloing. The purpose of this recital document was analyze Paul Chambers' bass solos in five standard tunes: East It, There is No Greater Love, Minor Run-down, The Theme, and Syeeda's Song Flute. It examined his solos in three main topics: (1) conception of harmony, (2) melodic line creating, and (3) melodic embellishment. The researcher found that Chambers used various melodic devices based on both harmonic generalization and harmonic specificity. These melodic devices, however, were embellished with non-harmonic tones. The results of the analysis were applied to design the bass solo exercises that aim to develop bass soloing, and used to inform the researcher's graduate recital.
Paul Chambers (ค.ศ.1935-1969) นับเป็นต้นแบบของการนำแนวคิดแนวทำนอง Be-Bop Jazz มาใช้ในการขยายความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ในการบรรเลงคีตปฏิภาณบนดับเบิ้ลเบส วัตถุประสงค์ของงานวิจัยฉบับนี้คือการศึกษาการบรรเลงคีตปฏิภาณ ของ Paul Chambers ในบทเพลง jazz standard ห้าเพลง ได้แก่ East It, The Theme, There is No Greater Love, Minor Rundown, Syeeda's Song Flute. โดยแบ่งตามสามหัวข้อหลักคือ แนวคิดด้านเสียงประสาน การสร้างแนวทำนอง และการตกแต่งแนวทำนอง จากการวิเคราะห์พบว่าเขาบรรเลงแนวทำนองในรูปแบบต่าง ๆ ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด harmonic generalization และ harmonic specificity แล้วตกแต่งแนวทำนองดังกล่าวด้วย non-harmonic tone ผลจากการวิเคราะห์ทั้งหมดนี้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการสร้างแบบฝึกหัดเพื่อนำไปสู่การพัฒนาการเล่นคีตปฏิภาณ และใช้ในการฝึกซ้อมเตรียมพร้อมสำหรับการแสดงเดี่ยวในระดับปริญญาโทของผู้วิจัย
Paul Chambers (ค.ศ.1935-1969) นับเป็นต้นแบบของการนำแนวคิดแนวทำนอง Be-Bop Jazz มาใช้ในการขยายความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ในการบรรเลงคีตปฏิภาณบนดับเบิ้ลเบส วัตถุประสงค์ของงานวิจัยฉบับนี้คือการศึกษาการบรรเลงคีตปฏิภาณ ของ Paul Chambers ในบทเพลง jazz standard ห้าเพลง ได้แก่ East It, The Theme, There is No Greater Love, Minor Rundown, Syeeda's Song Flute. โดยแบ่งตามสามหัวข้อหลักคือ แนวคิดด้านเสียงประสาน การสร้างแนวทำนอง และการตกแต่งแนวทำนอง จากการวิเคราะห์พบว่าเขาบรรเลงแนวทำนองในรูปแบบต่าง ๆ ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด harmonic generalization และ harmonic specificity แล้วตกแต่งแนวทำนองดังกล่าวด้วย non-harmonic tone ผลจากการวิเคราะห์ทั้งหมดนี้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการสร้างแบบฝึกหัดเพื่อนำไปสู่การพัฒนาการเล่นคีตปฏิภาณ และใช้ในการฝึกซ้อมเตรียมพร้อมสำหรับการแสดงเดี่ยวในระดับปริญญาโทของผู้วิจัย
Description
Music (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Music
Degree Discipline
Music
Degree Grantor(s)
Mahidol University