The gametogenic processes in a Thai abalone, haliotis asinina linnaeus
Issued Date
1998
Copyright Date
1998
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 77 leaves : ill.
ISBN
9745899844
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1998
Suggested Citation
Somjai Apisawetakan The gametogenic processes in a Thai abalone, haliotis asinina linnaeus. Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1998. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103518
Title
The gametogenic processes in a Thai abalone, haliotis asinina linnaeus
Alternative Title(s)
กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในหอยเป๋าฮื้อพันธุ์พื้นเมือง
Author(s)
Abstract
Abalone are dioecious gastropod molluscs. The single gonad envelops hepatopancreas, and together they form a large cone-shaped appendage that is called conical organ, which wraps around the right posterior margin of the shell muscle. The gonad histology and gametogenic processes of a species of Thai abalone, Haliotis asinina Linneaus were studied by light microscopy using paraffin and semithin methods. It was found that the outer gonadal wall is similar in both sexes, and consists of fibro-muscular tissue forming a capsule-like structure. This capsule forms connective tissue trabeculae that partition the gonads into compartments, where the gonial and early stage germ cells are attached to the trabeculae, and the late stage germ cells lie further from this axis. Such an appearance gives rise to a discrete gametogenic unit which is called oogenic or spermatogenic unit. Cells in spermatogenic process could be classified into thirteen stages based on chromatin appearance and cell size: spermatogonium, five stages of primary spermatocytes, secondary spermatocyte, four stages of spermatids and two stages of spermatozoa. The cells in oogenic process could be classified into six stages according to their histological characteristics: oogonium and five stages of primary oocytes with no yolk (I), with oil droplets (II), with primary yolk granules (III), with secondary yolk granules (IV) and mature oocytes (V). The gonads of abalone reared in land-based culture system exhibit five phases of histological pattern during the year; these are proliferative, premature, mature, spawning and spent phases. Gonads in proliferative and premature phases contain primarily gonial cells; oocytes (I, II, III) and spermatocytes, while mature phase contains mainly late stage cells, i.e., stage IV and V oocytes in ovary and spermatids and spermatozoa in testis. The spawning of gamete cells occurs at least twice during each year: from March to April and August to October in female and with similar interval but slightly prolonged duration in male. Spent phase is characterized by a complete dischage of gamete cells and a breakdown of connective tissue stroma, which occurs after the period of spawning. lt takes approximately 5 to 6 months of year for gonads to regenerate their connective tissue stroma and germ cell population, and finally become repleted with mature cells again.
หอยเป๋าฮื้อจัดเป็นหอยทะเลที่มีเพศแยกจากกันชัดเจน อวัยวะสืบพันธุ์ของหอยเป๋าฮื้อ ที่ผลิตเซลล์สืบพันธุ์ คือ รังไข่และอัณฑะซึ่งมีถุงหุ้ม ประกอบด้วยเยื่อเกี่ยวพันปนกับ กล้ามเนื้อเรียบ เยื่อเกี่ยวพันจากถุงหุ้มแทรกเข้าไปในรังไข่และอัณฑะเป็นแผง trabeculae ที่มีเซลล์สืบพันธุ์ขั้นต้น ขั้นกลาง และขั้นปลายหุ้มอยู่รอบๆ การสร้าง และพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ขั้นต้นถึงขั้นสุดท้ายดำเนินไปบนแผง trabeculae ทำให้ เกิดเป็นหน่วยสืบพันธุ์ (gametogenic unit) มากมายในอัณฑะและรังไข่ พบว่า ในอัณฑะนั้นเซลล์สืบพันธุ์ประกอบด้วย 13 ระยะ คือ spermatogonium, primary spermatocytes 5 ระยะ, secondary spermatocyte, spermatids 4 ระยะ และ spermatozoa 2 ระยะ โดยมีความแตกต่างกันตามลักษณะการขดตัวของใย chromatin และขนาดของนิวเคลียสและเซลล์ ส่วนในรังไข่มีเซลล์สืบพันธุ์ 6 ระยะ คือ oogonium, primary oocytes ขั้นที่ I, II, III, IV และ V ซึ่งมีความแตกต่างกันตามปริมาณ หยดไขมัน (lipid droplets) สารไข่ (yolk granules) และสารวุ้น (jelly coat) ที่เซลล์แต่ละขั้นสร้างขึ้น พบว่าในระหว่างระยะเวลา 1 ปี ปริมาณและชนิดของเซลล์สืบพันธุ์รวมทั้งลักษณะทาง จุลกายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์ของหอยเป๋าฮื้อ H. asinine จะเปลี่ยนแปลงไปตามวงจร การสืบพันธุ์ (reproductive cycle) โดยแบ่งออกเป็น 5 ช่วง (phases) คือ proliferative, premature, mature, spawning และ spent phases ในช่วง proliferative และ premature phases เซลล์สืบพันธุ์ในรังไข่ประกอบด้วย oogonia และ oocytes ขั้นที่ I, II และ III ส่วนในอัณฑะประกอบด้วย spermatogonia และ spermatocytes ในช่วง mature phase จะพบเซลล์สืบพันธุ์ขั้นปลายเป็นส่วนใหญ่ คือ oocytes ขั้นที่ IV และ V ในรังไข่ spermatids และ spermatozoa ในอัณฑะ ในช่วง spawning phase จะมีการปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ที่โตเต็มที่แล้วออกสู่ภายนอก พบว่า spawning phase ของหอย H. asinina ที่เลี้ยงในระบบปิดเกิดขึ้น 2 ครั้ง คือในช่วง เดือนมีนาคมถึงเมษายน และช่วงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม โดยพบว่าตัวผู้มักมีการขยายเวลา sqawn ออกไปได้อีกเล็กน้อย และบางครั้งพบการปล่อยของเซลล์สืบพันธุ์อย่างสมบูรณ์พร้อมกับ การสลายตัวของเยื่อเกี่ยวพันภายในรังไข่และอัณฑะ โดยเรียกลักษณะเช่นนี้ว่า spent phase หลังจากช่วง spawning และ spent เกิดขึ้นแล้ว การสร้างและพัฒนาของเซลล์ สืบพันธุ์รอบใหม่จะเกิดขึ้นและดำเนินต่อไปทันที โดยพบว่าแต่ละรอบจะใช้เวลาประมาณ 5 ถึง 6 เดือน
หอยเป๋าฮื้อจัดเป็นหอยทะเลที่มีเพศแยกจากกันชัดเจน อวัยวะสืบพันธุ์ของหอยเป๋าฮื้อ ที่ผลิตเซลล์สืบพันธุ์ คือ รังไข่และอัณฑะซึ่งมีถุงหุ้ม ประกอบด้วยเยื่อเกี่ยวพันปนกับ กล้ามเนื้อเรียบ เยื่อเกี่ยวพันจากถุงหุ้มแทรกเข้าไปในรังไข่และอัณฑะเป็นแผง trabeculae ที่มีเซลล์สืบพันธุ์ขั้นต้น ขั้นกลาง และขั้นปลายหุ้มอยู่รอบๆ การสร้าง และพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ขั้นต้นถึงขั้นสุดท้ายดำเนินไปบนแผง trabeculae ทำให้ เกิดเป็นหน่วยสืบพันธุ์ (gametogenic unit) มากมายในอัณฑะและรังไข่ พบว่า ในอัณฑะนั้นเซลล์สืบพันธุ์ประกอบด้วย 13 ระยะ คือ spermatogonium, primary spermatocytes 5 ระยะ, secondary spermatocyte, spermatids 4 ระยะ และ spermatozoa 2 ระยะ โดยมีความแตกต่างกันตามลักษณะการขดตัวของใย chromatin และขนาดของนิวเคลียสและเซลล์ ส่วนในรังไข่มีเซลล์สืบพันธุ์ 6 ระยะ คือ oogonium, primary oocytes ขั้นที่ I, II, III, IV และ V ซึ่งมีความแตกต่างกันตามปริมาณ หยดไขมัน (lipid droplets) สารไข่ (yolk granules) และสารวุ้น (jelly coat) ที่เซลล์แต่ละขั้นสร้างขึ้น พบว่าในระหว่างระยะเวลา 1 ปี ปริมาณและชนิดของเซลล์สืบพันธุ์รวมทั้งลักษณะทาง จุลกายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์ของหอยเป๋าฮื้อ H. asinine จะเปลี่ยนแปลงไปตามวงจร การสืบพันธุ์ (reproductive cycle) โดยแบ่งออกเป็น 5 ช่วง (phases) คือ proliferative, premature, mature, spawning และ spent phases ในช่วง proliferative และ premature phases เซลล์สืบพันธุ์ในรังไข่ประกอบด้วย oogonia และ oocytes ขั้นที่ I, II และ III ส่วนในอัณฑะประกอบด้วย spermatogonia และ spermatocytes ในช่วง mature phase จะพบเซลล์สืบพันธุ์ขั้นปลายเป็นส่วนใหญ่ คือ oocytes ขั้นที่ IV และ V ในรังไข่ spermatids และ spermatozoa ในอัณฑะ ในช่วง spawning phase จะมีการปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ที่โตเต็มที่แล้วออกสู่ภายนอก พบว่า spawning phase ของหอย H. asinina ที่เลี้ยงในระบบปิดเกิดขึ้น 2 ครั้ง คือในช่วง เดือนมีนาคมถึงเมษายน และช่วงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม โดยพบว่าตัวผู้มักมีการขยายเวลา sqawn ออกไปได้อีกเล็กน้อย และบางครั้งพบการปล่อยของเซลล์สืบพันธุ์อย่างสมบูรณ์พร้อมกับ การสลายตัวของเยื่อเกี่ยวพันภายในรังไข่และอัณฑะ โดยเรียกลักษณะเช่นนี้ว่า spent phase หลังจากช่วง spawning และ spent เกิดขึ้นแล้ว การสร้างและพัฒนาของเซลล์ สืบพันธุ์รอบใหม่จะเกิดขึ้นและดำเนินต่อไปทันที โดยพบว่าแต่ละรอบจะใช้เวลาประมาณ 5 ถึง 6 เดือน
Description
Anatomy (Mahidol University 1998)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University