Gender shift in male-dominated field of study : a changed position of female students in education and labor market
Issued Date
2013
Copyright Date
2013
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 128 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Arinchaya Threekunprapa Gender shift in male-dominated field of study : a changed position of female students in education and labor market. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95178
Title
Gender shift in male-dominated field of study : a changed position of female students in education and labor market
Alternative Title(s)
การเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพศในคณะที่เป็นของผู้ชาย : การศึกษาการเปลี่ยนแปลงบทบาทของผู้หญิงในระบบการศึกษาและตลาดแรงงาน
Author(s)
Abstract
This research aimed to find empirical evidence of a gender shift in Thailand. This research consisted of two studies: a quantitative study and a qualitative study. The quantitative study was documentary research studying the proportion of male and female students at the undergraduate level in the top 3 male-dominated fields of education (computing, engineering, and architecture) in Bangkok and its periphery for the academic years 2001-2011. The qualitative study was a field study which consisted of in-depth interviews with 30 people who are labor producers, labor consumers, and female workers in the top 3 male-dominated fields about the change, the causes of this phenomenon, and the effects as well as the planning to deal with this change. The findings mean that female students and female workers are increasing significantly in the Thai labor market and the trend of female workers making demands also is increasing in male-dominated fields, but no one is prepared nor planning to handle this change. In the next decade, the earnings and household heads must suddenly change to be "in-hand" of females. The Government should prepare a plan to deal with this change. This phenomenon needs to be studied more to find further effects on both the negative and positive sides.
งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาเพื่อหาหลักฐานเชิงประจักษ์ของการเกิดการเปลี่ยนบทบาททางเพศหรือที่เรียกว่า ปรากฏการณ์การเปลี่ยนบทบาททางเพศ (Gender Shift)ในประเทศไทย โดยประกอบด้วยงานวิจัย 2 ส่วน คือ งานวิจัยเชิงปริมาณและงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณทำการศึกษาสัดส่วนชายและหญิงในระดับปริญญาตรี ในคณะที่เป็นของผู้ชาย (Male-Dominated) ซึ่ง ประกอบด้วยคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ในมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพและปริมณฑล ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง 2554 และกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ผลิตบัณฑิต ผู้ใช้งานบัณฑิต และแรงงานหญิงที่ทำงานในสายอาชีพ ของผู้ชาย เกี่ยวกับปรากฏการณ์ของการที่เพศหญิงเข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญในอาชีพที่เคยเป็นของชายสาเหตุของสถานการณ์ ผลกระทบและแนวคิดเพื่อการตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงนี้งานวิจัยนี้พบว่า สัดส่วนของนักศึกษาหญิงและแรงงานหญิงเพิ่มขึ้นในสายอาชีพที่เป็นของผู้ชายและมีแนวโน้มความต้องการแรงงานหญิงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยแต่ยังไม่มีองค์กรของผู้ให้ข้อมูลหลักคนใดมีแนวคิดการเตรียมตัวตั้งรับการเปลี่ยนแปลงนี้ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของแรงงานหญิง จะส่งผลอย่างมากต่อทุกหน่วยของสังคมโดยเฉพาะเด็กเพราะบุคคลที่ต้องทำหน้าที่แม่ กลับกลายมาเป็นผู้หาเลี้ยงหลักของครอบครัวข้อเสนอแนะจากงานวิจัยชิ้นนี้คือควรจะมีการทำการศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องผลกระทบจากการเปลี่ยนบทบาททางเพศ (Gender Shift) ทั้งในด้านที่เป็นบวกและลบในระยะยาวเพื่อจะนำไปสู่การออกแบบนโยบายที่เหมาะสมทันท่วงทีเพื่อตอบรับกับปรากฏการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ ณ.ขณะนี้
งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาเพื่อหาหลักฐานเชิงประจักษ์ของการเกิดการเปลี่ยนบทบาททางเพศหรือที่เรียกว่า ปรากฏการณ์การเปลี่ยนบทบาททางเพศ (Gender Shift)ในประเทศไทย โดยประกอบด้วยงานวิจัย 2 ส่วน คือ งานวิจัยเชิงปริมาณและงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณทำการศึกษาสัดส่วนชายและหญิงในระดับปริญญาตรี ในคณะที่เป็นของผู้ชาย (Male-Dominated) ซึ่ง ประกอบด้วยคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ในมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพและปริมณฑล ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง 2554 และกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ผลิตบัณฑิต ผู้ใช้งานบัณฑิต และแรงงานหญิงที่ทำงานในสายอาชีพ ของผู้ชาย เกี่ยวกับปรากฏการณ์ของการที่เพศหญิงเข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญในอาชีพที่เคยเป็นของชายสาเหตุของสถานการณ์ ผลกระทบและแนวคิดเพื่อการตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงนี้งานวิจัยนี้พบว่า สัดส่วนของนักศึกษาหญิงและแรงงานหญิงเพิ่มขึ้นในสายอาชีพที่เป็นของผู้ชายและมีแนวโน้มความต้องการแรงงานหญิงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยแต่ยังไม่มีองค์กรของผู้ให้ข้อมูลหลักคนใดมีแนวคิดการเตรียมตัวตั้งรับการเปลี่ยนแปลงนี้ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของแรงงานหญิง จะส่งผลอย่างมากต่อทุกหน่วยของสังคมโดยเฉพาะเด็กเพราะบุคคลที่ต้องทำหน้าที่แม่ กลับกลายมาเป็นผู้หาเลี้ยงหลักของครอบครัวข้อเสนอแนะจากงานวิจัยชิ้นนี้คือควรจะมีการทำการศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องผลกระทบจากการเปลี่ยนบทบาททางเพศ (Gender Shift) ทั้งในด้านที่เป็นบวกและลบในระยะยาวเพื่อจะนำไปสู่การออกแบบนโยบายที่เหมาะสมทันท่วงทีเพื่อตอบรับกับปรากฏการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ ณ.ขณะนี้
Description
Human Development (Mahidol University 2013)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University