การพัฒนาระบบจองห้องศึกษารายกลุ่ม หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2563
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ
ข่ายงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยในส่วนภูมิภาค
ข่ายงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยในส่วนภูมิภาค
Suggested Citation
ปิยวัฒน์ ชวนวารี, โสมรัศมิ์ พิบูลย์มณี (2563). การพัฒนาระบบจองห้องศึกษารายกลุ่ม หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48834
Title
การพัฒนาระบบจองห้องศึกษารายกลุ่ม หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
Alternative Title(s)
The Development of Group Study Room Reservation System, Mahidol University Library and Knowledge Center
Author(s)
Abstract
การพัฒนาระบบจองห้องศึกษารายกลุ่ม หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้แนวคิด
ทฤษฎีวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development Life Cycle : SDLC) ร่วมกับการประเมิน
ประสิทธิภาพของระบบ และความพึงพอใจของผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริการต่อระบบจองห้องศึกษารายกลุ่ม
ในการพัฒนาระบบได้ใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL ร่วมกับภาษา PHP โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวย
ความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการจองห้องศึกษารายกลุ่มผ่านระบบออนไลน์ และลดปัญหาการจัดเก็บข้อมูลสถิติ
การบริการ ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยการลดจำนวนการใช้กระดาษ ให้มีการทำงานที่รวดเร็วขึ้นมากกว่า
รูปแบบเดิม
ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบจองห้องศึกษารายกลุ่ม ในส่วนของผู้ให้บริการ ให้ผล
การประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยรวมอยู่ในระดับดี (x = 4.38, S.D. = 0.57) โดยได้รับผลการประเมิน
ประสิทธิภาพสูงสุดในเรื่อง ระบบมีความถูกต้องในการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลการจอง ความรวดเร็วในการประมวลผล
ของระบบ และระบบนี้มีความสอดคล้องกับความต้องการที่จะนำมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับผล
การประเมินความพึงพอใจต่อระบบจองห้องศึกษารายกลุ่ม ในส่วนของผู้ใช้บริการ ให้ผลการประเมินความพึงพอใจ
โดยรวมอยู่ในระดับดี (x = 4.27, S.D. = 0.71) โดยได้รับผลการประเมินความพึงพอใจสูงสุดในเรื่องการมีระบบ
Login เพื่อจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้ระบบและตรวจสอบข้อมูลการจอง ข้อมูลการจองของระบบมีความถูกต้อง และระบบ
สามารถตอบสนองผู้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าระบบจองห้องศึกษารายกลุ่มที่พัฒนาขึ้นมา
มีการใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ และสามารถลดขั้นตอนการทำงานของระบบเดิม
The development of group study room reservation system, Mahidol University Library and Knowledge Center applied the theory of System Development Life Cycle (SDLC) including the satisfaction evaluation of staffs and users to group study room reservation system. In the development of the system, use the MySQL database management system together with the PHP language. The objective is to facilitate the users for reserving room with online system conveniently. This system decreased the problem of analyzing statistics and reduced the usage papers for promoting environmental that the work processing was faster than the traditional systems. The results of efficiency evaluation and satisfaction of the group study room reservation system by overall staff opinions was at the good level (x = 4.38, S.D. = 0.57). The highest evaluation scores were the correctness of editing reservation information, the speed of system evaluation, and the system met the needs efficiently. For the results of satisfaction evaluation of the group study room reservation system by overall users opinions was at the good level (x = 4.27, S.D. = 0.71). The highest evaluation scores were the login system to store the user’s data and verify the reservation information, the correctness of reservation information, and the system meeting users’ needs efficiently. As the result, the group study room reservation system being developed is simple and easy to use together with accuracy reliability, and reduces process steps of the traditional system using before.
The development of group study room reservation system, Mahidol University Library and Knowledge Center applied the theory of System Development Life Cycle (SDLC) including the satisfaction evaluation of staffs and users to group study room reservation system. In the development of the system, use the MySQL database management system together with the PHP language. The objective is to facilitate the users for reserving room with online system conveniently. This system decreased the problem of analyzing statistics and reduced the usage papers for promoting environmental that the work processing was faster than the traditional systems. The results of efficiency evaluation and satisfaction of the group study room reservation system by overall staff opinions was at the good level (x = 4.38, S.D. = 0.57). The highest evaluation scores were the correctness of editing reservation information, the speed of system evaluation, and the system met the needs efficiently. For the results of satisfaction evaluation of the group study room reservation system by overall users opinions was at the good level (x = 4.27, S.D. = 0.71). The highest evaluation scores were the login system to store the user’s data and verify the reservation information, the correctness of reservation information, and the system meeting users’ needs efficiently. As the result, the group study room reservation system being developed is simple and easy to use together with accuracy reliability, and reduces process steps of the traditional system using before.
Description
การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 10 ภายใต้หัวข้อ Library Transformation in a Disrupted World ระหว่างวันที่ 8-9 มกราคม 2563 ณ โรงแรมบุรีศรีภู บูติคโฮเต็ล หาดใหญ่ สงขลา