Network spare-part management using classification matrix
dc.contributor.advisor | Supaporn Kiattisin | |
dc.contributor.advisor | Smitti Darakorn Na Ayuthaya | |
dc.contributor.author | Chao Intanate | |
dc.date.accessioned | 2024-01-11T03:12:40Z | |
dc.date.available | 2024-01-11T03:12:40Z | |
dc.date.copyright | 2017 | |
dc.date.created | 2017 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Information Technology Management (Mahidol University 2017) | |
dc.description.abstract | Network spare-part inventory management is an important factor to ensure a successful network management service. A well managed spare part inventory allows business to operate with efficiency, and lower the business operation cost. Therefore, finding a suitable network spare-part model inventory is important for network services provider. By finding the balance of having enough spare part to ensure that there is always available spare part when needed without having to keep excessive amount of it in the inventory. A good inventory management model help to classify items based on the characteristic of the item in the inventory, this help create policy to manage each spare part item in the inventory. When doing research on this topic, a few studies have been done on network spare part management model, therefore the goal of this thematic paper was to find a suitable network management model for managing last-mile network equipment | |
dc.description.abstract | การบริหารจัดการชิ้นส่วนสำรอง ของอุปกรณ์เครือข่ายเป็นส่วนสำคัญ ส่วนหนึ่งของ การให้บริการของเครือข่ายนั้น การจัดการชิ้นส่วนสารองที่ดีนั้นช่วยให้ธุรกิจดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และ ช่วยลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ ดังนั้นรูปแบบการจัดการที่เหมาะสม เป็นส่วน สำคัญส่วนหนึ่งที่ผู้ให้บริการเครือข่ายควรคำนึงถึง โดยการหาสมดุลระหว่าง การเก็บอะไหล่ให้พอ เพื่อให้แน่ใจว่ามีอะไหล่เพียงพอเมื่อมีความต้องการในการใช้งาน แต่อะไหล่ที่เก็บนั้นก็ไม่ควรมี จำนวนมากเกินไป รูปแบบการจัดการสินค้าคงคลังที่ดีจะช่วยในการจำแนกชิ้นส่วนสำรอง ตาม ลักษณะขอชิ้นนั้น ๆ เพื่อช่วยในการสร้างนโยบายในการจัดการของอะไหล่แต่ละชิ้น ตอนที่ค้นหา หัวข้อการวิจัยนั้น ได้พบว่าบทความที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดการชิ้นส่วนสารองของอุปกรณ์ เครือข่ายมีค่อนข้างน้อย วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการจัดการชิ้นส่วนสารองของ อุปกรณ์เครือข่ายที่เหมาะสมสำหรับการจัดการอุปกรณ์เครือข่ายปลายทาง | |
dc.format.extent | ix, 32 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92418 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Inventory control | |
dc.subject | Network analysis (Planning) | |
dc.title | Network spare-part management using classification matrix | |
dc.title.alternative | การบริหารจัดการชิ้นส่วนสำรองของอุปกรณ์เครือข่ายโดยเมทริกการจำแนกประเภท | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd522/5838350.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Engineering | |
thesis.degree.discipline | Information Technology Management | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |