The effectiveness of piano playing as a cognitive training program for the elderly
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 98 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Pitichet Jitkamhaeng The effectiveness of piano playing as a cognitive training program for the elderly. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91786
Title
The effectiveness of piano playing as a cognitive training program for the elderly
Alternative Title(s)
ผลของการพัฒนาความสามารถในการรู้คิดของผู้สูงอายุด้วยการเล่นเปียโน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research aims to study the effects of playing piano to improve cognitive function of elderly. Samples are 30 elderly people aged between 60 and 82 years from wood ball sports club which belongs to the Federation of Associations of the elder of Thailand, Kanchanaburi province and do not have a history of playing music before. The research participants were divided into 2 groups: a control group of 15 people and an experimental group of 15 people. The experimental group received training of playing piano by using the technique practical course "One to five piano" consisting of 10 lessons which take 2 weeks to complete. All participants were evaluated for cognitive ability by neuropsychological test, and data were collected 2 times, before the start of the lesson and after completing the practice lessons. The research found that the cognitive abilities of the experimental group in TMT-A test before and after the lessons were significantly statistically different at .05 level (t = 2.41, p < .05). Thus, piano playing is an alternative way to improve cognitive function in elderly, especially who are interested in music
งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาผลของการเล่นเปียโนต่อการพัฒนาความสามารถทางการรู้คิดในผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุจากชมรมกีฬาวู๊ดบอล สังกัดสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย ประจำจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งไม่มีประวัติการเล่นดนตรีมาก่อน จำนวน 30 คน (อายุระหว่าง 60 - 82 ปี, M = 67) โดยแบ่งผู้ร่วมวิจัยออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม 15 คน และกลุ่มทดลอง 15 คน สาหรับกลุ่มทดลองจะได้รับการฝึกเล่นเปียโนโดยใช้เทคนิคหลักสูตรการปฏิบัติแบบ "วันทูวไฟว์เปียโน" จำนวน 10 บทเรียน ซึ่งใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 2 สัปดาห์ ผู้ร่วมวิจัยจะได้รับการประเมินความสามารถทางการรู้คิดด้วยแบบประเมินเชิงประสาทจิตวิทยา โดยเก็บข้อมูล 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่มบทเรียนและหลังปฏิบัติจบหลักสูตร ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีความสามารถในการรู้คิดในแบบทดสอบ TMT-A ระหว่างก่อนเริ่มบทเรียนและหลังปฏิบัติจบหลักสูตรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้นการเล่นเปียโนจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสามารถพัฒนาความสามารถในการรู้คิดของผู้สูงอายุได้โดยเฉพาะกับผู้สูงอายุที่มีความสนใจหรือความชอบในเรื่องของดนตรี
งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาผลของการเล่นเปียโนต่อการพัฒนาความสามารถทางการรู้คิดในผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุจากชมรมกีฬาวู๊ดบอล สังกัดสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย ประจำจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งไม่มีประวัติการเล่นดนตรีมาก่อน จำนวน 30 คน (อายุระหว่าง 60 - 82 ปี, M = 67) โดยแบ่งผู้ร่วมวิจัยออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม 15 คน และกลุ่มทดลอง 15 คน สาหรับกลุ่มทดลองจะได้รับการฝึกเล่นเปียโนโดยใช้เทคนิคหลักสูตรการปฏิบัติแบบ "วันทูวไฟว์เปียโน" จำนวน 10 บทเรียน ซึ่งใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 2 สัปดาห์ ผู้ร่วมวิจัยจะได้รับการประเมินความสามารถทางการรู้คิดด้วยแบบประเมินเชิงประสาทจิตวิทยา โดยเก็บข้อมูล 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่มบทเรียนและหลังปฏิบัติจบหลักสูตร ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีความสามารถในการรู้คิดในแบบทดสอบ TMT-A ระหว่างก่อนเริ่มบทเรียนและหลังปฏิบัติจบหลักสูตรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้นการเล่นเปียโนจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสามารถพัฒนาความสามารถในการรู้คิดของผู้สูงอายุได้โดยเฉพาะกับผู้สูงอายุที่มีความสนใจหรือความชอบในเรื่องของดนตรี
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University